วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
วันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 10 ของทุกปีเป็นวันที่เราจะนึกถึง พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หรือหลวงพ่อวัดปากน้ำ ท่านได้สละชีวิตในการนั่งสมาธิจนเข้าถึงธรรมกาย
“วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย” “วันมหัศจรรย์ของโลก” วันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 10 ของทุกปีเป็นวันที่เราจะนึกถึง พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หรือหลวงพ่อวัดปากน้ำ ท่านได้สละชีวิตในการนั่งสมาธิจนเข้าถึงธรรมกาย
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
94 ปี วิชชาธรรมกาย ข่าวจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ
“ธรรมกาย” คือ กายตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, “วิชชา” แปลว่า ความรู้แจ้ง, “วิชชาธรรมกาย” แปลว่า ความรู้แจ้งเรื่องธรรมกาย
วิชชาในพระพุทธศาสนา
การที่เราได้มาอยู่ในสำนักของพระพุทธจ้าของเรานี้ เป็นการมาดีแล้วหนอ วิชชา ๓ เราได้บรรลุแล้ว คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำเสร็จแล้ว คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ เราทำให้แจ้งชัดแล้ว คำสอนของพระพุทธเจ้า เราทำเสร็จแล้ว
วัดพระธรรมกายปฏิเสธการกล่าวอ้างในเฟซบุ๊กชื่อ "เรา รัก ธรรมกาย"
วัดพระธรรมกาย ขอชี้แจงว่า ข้อความดังกล่าวไม่ใช่ข้อความของวัดพระธรรมกาย แต่เป็นข้อความของผู้ใช้ชื่อในเฟซบุ๊ก เรา รัก ธรรมกาย ซึ่งไม่ใช่พระภิกษุ สามเณร ลูกศิษย์วัด หรือกัลยาณมิตรของวัดพระธรรมกายแต่อย่างใด
ธรรมกาย กายมาตรฐาน
สรีรยนต์นี้ ถูกกรรมปรุงแต่งทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และมักขะ
พระพุทธคุณ ตอน สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ
พระองค์ทรงเป็นที่พึ่งของผู้ไร้ที่พึ่ง ทรงประทานความไม่มีภัยแก่เหล่าชนผู้มีความกลัว ทรงเป็นที่คุ้นเคยของผู้มีภูมิธรรมสงบ ทรงเป็นที่พึ่งที่ระลึกของผู้แสวงหาที่พึ่งที่ระลึก
ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง