โรงเรียน Ranelagh มาเยี่ยมชมวัดพระธรรมกายลอนดอน
นักเรียนและคุณครู จากโรงเรียนประถม Ranelagh ได้มาเยี่ยมชมวัดพระธรรมกายลอนดอน เพื่อศึกษาความรู้ในพระพุทธศาสนา
กฟน.แนะนำใช้ไฟฟ้าอย่างไรไม่ให้เกิน 80
กัณหทีปายนชาดก ชาดกว่าด้วยความรักที่มีต่อบุตร
“ เมื่อตอนแรกที่เราบวช เรายินดีประพฤติพรหมจรรย์ได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จากนั้นแม้เราไม่ยินดีก็ทนประพฤติพรหมจรรย์ถึง ๕๐ กว่าปี ด้วยความสัตย์อันนี้ ขอให้ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด ” มัณพัพยะได้ถามถึงสาเหตุที่ทีปายนดาบสฝืนประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่ยอมสึกมาครองเรือน “ ถ้าท่านไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ แล้วทำไมท่านไม่ออกมาครองเรือนหละ ” “ เพราะเราไม่อยากให้ใครว่าเราเป็นคนเหลวไหล กลับกรอกนะสิ
เหตุใดคุณแม่จึงมีคู่แข่งทางการค้าตลอดและจะแก้ไขได้อย่างไร
คุณแม่เปิดร้านขายของชำ มีความเป็นอยู่ดีขึ้น แต่คุณแม่ก็ไม่ค่อยชอบไปไหนอ้างว่าเป็นห่วงร้าน กลัวเสียลูกค้าให้คู่แข่งที่เปิดร้านใกล้ๆ กัน และที่น่าแปลกใจก็คือ คุณแม่มักจะมีคู่แข่งทางการค้าตลอดมา
เงินงอกเป็นแสนด้วยอานิสงส์บวชพระ
เชิญชายไทยบวชเข้าพรรษา ระหว่างวันที่ 29 มิ.ย. - 7 พ.ย. 2554 ในโครงการอุปสมบทหมู่เข้าพรรษาหนึ่งแสนรูปทุกหมู่บ้านทั่วไทย
อานิสงส์ถวายเสา ๕ ต้น ร่วมสร้างโรงฉัน
สัตบุรุษย่อมให้ทาน คือ ข้าวและน้ำที่สะอาด ประณีตตามกาล สมควร เนืองนิตย์ ในผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ผู้เป็นเขตดี บริจาคของมากแล้วก็ไม่รู้สึกเสียดาย ท่านผู้มีปัญญาเห็นแจ้งย่อมสรรเสริญทานที่สัตบุรุษให้แล้วอย่างนี้ เมธาวีบัณฑิตผู้มีศรัทธา มีใจอันสละแล้ว บริจาค ทานอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มีความเบียดเบียนเป็นสุข
ความประทับใจในการเดินธุดงค์ธรรมชัย ตอน ชีวิตที่ใช่เลย
เวลาเดินเหมือนตัวมันเบาๆ ลอยๆ เดินๆไป อยู่ๆดวงแก้วก็ผุดขึ้นมาใสสว่าง ยิ่งเดินยิ่งมีความสุข เมื่อก่อนผมหลงเชื่อ ความสุขที่คุณดื่มได้ จนเกือบเสียผู้เสียคน แต่ตอนนี้ผมพบความสุขที่ดื่มไม่ได้ แต่เข้าถึงได้แล้วครับ
หวั่น"10 กันยายน"โลกถึงจุดจบ "เซิร์น"เดินเครื่องสร้างหลุมดำ
เกาะติดสถานการณ์ดาวรวย ตอน ปลูกด้วยใจ ดูแลด้วยรัก
ผมเริ่มด้วยการนั่งสมาธิและสวดสรรเสริญหลวงปู่ แล้วเอาอ่างแก้วมาทำเป็นกระถาง ผมดูแลดาวรวยด้วยใจใสๆ ทุกวัน จนดาวรวยผลิใบอ่อนครบทั้ง 19 ต้น ไม่ตายเลยสักต้นเดียว
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"