แถลงการณ์คณะแพทย์พยาบาลอาสาวัดพระธรรมกาย ทีมกู้ชีพรัตนเวช
จากเหตุการณ์โศกนาฏกรรม ที่มีผู้เสียชีวิตถึง 2 ศพ ที่เกิดจากการใช้ กฎหมาย ม.44 ที่ ปิดกั้นทางเข้าออกรอบวัดพระธรรมกาย คณะแพทย์พยาบาลอาสาวัดพระธรรมกาย ทีมกู้ชีพรัตนเวชรู้สึกสลดและโศกเศร้าใจเป็นอย่างมาก และไม่อยากให้เหตุการณ์อย่างนี้เกิดขึ้นอีก
ชีวิตจริง..บนสังคมออนไลน์
อยากทราบความเห็นเกี่ยวกับเรื่องสังคมออนไลน์ ? การพูดคุยในชุมชนออนไลน์ทั้ง ๆ ที่ไม่รู้จักกัน สะท้อนให้เห็นอะไรบ้าง ? สังคมมนุษย์จะเปลี่ยนไปจากเดิมอีกเยอะไหม ในอนาคตอันใกล้ ?
เลิกติดเกมอย่างนุ่มนวล
จะแก้ไขปัญหาเด็กติดเกมได้อย่างไร ในสมัยพุทธกาลมีตัวอย่างเหตุการณ์เช่นนี้บ้างไหม คือเรื่องเดียวกันแต่มองคนละมุม จะรู้ได้อย่างไรว่าติดเกมหรือไม่ติด....
พระสถูปเจดีย์ คือ สัญลักษณ์แสดงความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา
ร้างขาดการดูแล จนกระทั่งมีนักโบราณคดีทำการขุดค้นโบราณสถานต่าง ๆ ในอินเดีย...
รายงานข่าวสว่าง ตอน เจ้าของบุญอัศจรรย์ งานตักบาตรแสนสำเร็จ
หลวงพ่อครับผมเข้าวัดสร้างบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพันมากว่า 18 ปี ซึ่งบุญที่ผมและครอบครัวเราปลื้มมากๆ คือ ได้เป็นผู้ร่วมสถาปนาศูนย์ปฏิบัติธรรมศรีสะเกษ และศูนย์ปฏิบัติธรรมแก้วภาวนาครับ
Case Study คุณพ่อพันเอกอุดร ตอนที่ 8 (ตอนจบ)
สำหรับสาเหตุที่ทำให้ตัวลูกต้องมาเกิดเป็นผู้หญิงในภพชาติปัจจุบันนี้ทั้งนี้ก็เป็นเพราะ...วิบากกรรมกาเมฯ ที่ตัวลูกได้เคยทำผิดทำพลาดเอาไว้ในหลายๆพุทธันดรก่อนๆ นู้นได้ช่องตามมาส่งผลเรื่องก็มีอยู่ว่า..
Case Study พระภิกษุผู้เป็นไอดอลของหัวหน้าชั้น ตอนที่ 4 (ตอนจบ)
สำหรับสาเหตุที่ทำให้ลูกอุบาสิกาเขตในท่านนี้...ต้องมาเกิดเป็นผู้หญิงในภพชาติปัจจุบันนี้เพราะ...
โครงการสามเณรล้านรูปฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ตอน ถ้ามีใจเริ่มชวนจากหนึ่งก็ถึงล้านได้
ย้อนไปตอนพรรษา 2 พระอาจารย์ท่านชวนผมให้มาช่วยโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนที่จังหวัดขอนแก่น ให้ทำเป็นศูนย์นำร่องก่อนการจัดบวชสามเณรล้านรูปผมก็ไปครับ ไปแบบตัวเบามากเลยคือ ปัจจัยก็ไม่มี คอมพิวเตอร์ก็ไม่มี ทีมงานก็ยังไม่ได้สร้าง แต่ผมมีหัวใจและมีแรงใจ ผมหาความรู้ด้วยการไปดูงานตามศูนย์อบรมต่างๆของวัดเรา...
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป (ข้อ ๓-๘)
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก