ฆราวาสธรรม 4 ธรรมของผู้ครองเรือน
ฆราวาสธรรม 4 ธรรมของผู้ครองเรือน ประกอบด้วย สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ ผู้นำฆราวาสธรรม 4 ไปใช้ จะมีความสุขความสำเร็จในชีวิต
เหตุแห่งความมีอายุยืน
“..ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม เหมือนร่มใหญ่ที่กางกั้นฝนในฤดูฝนหรือกันแดด ในฤดูร้อน เพราะฉะนั้นธรรมบาลกุมารย่อมได้รับการคุ้มครองโดยธรรม เราจึงเชื่อว่า เขาต้องไม่ตายแน่นอน..”
กุศลกรรมบถ 10 ประการ
โลกเปลี่ยนไปเพราะใจมนุษย์แปรปรวนท่านสาธุชนทั้งหลาย โลกมนุษย์นี้เป็นชุมทางของการสั่งสมบุญและบาป ส่วนภพภูมิต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสุคติหรือทุคติ เป็นเพียงผลที่มารองรับการกระทำของมนุษย์ทั้งสิ้นเป็นผลที่เกิดจากความสะอาดและไม่สะอาดทางกาย วาจา ใจ โลกจะฟูขึ้นหรือยุบลง เจริญขึ้นหรือเสื่อมลง วัฒนะหรือหายนะ ก็เพราะการประพฤติกุศลกรรมบถ 10 ประการนี้
วัดพระธรรมกายแมนเชสเตอร์ จัดปฏิบัติธรรมเมืองแมนฟิลด์
วัดพระธรรมกายแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ จัดปฏิบัติธรรมบ้านกัลยาณมิตร ณ เมืองแมนฟิลด์
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (4)
ผู้ครองเรือนไม่ควรบริโภคอาหารที่มีรสอร่อยแต่ผู้เดียว ไม่ควรซ่องเสพถ้อยคำให้ติดอยู่ในโลก ที่ไม่เกื้อกูลต่อสวรรค์และนิพพาน เพราะถ้อยคำเช่นนั้น ไม่ทำให้ปัญญาเจริญได้เลย ผู้ครองเรือนพึงเป็นผู้มีศีล สมบูรณ์ด้วยวัตร ไม่ประมาท มีปัญญาเครื่องสอดส่องเหตุผล มีความประพฤติถ่อมตน ไม่เป็นคนตระหนี่ถี่เหนียว เป็นผู้สงบเสงี่ยม มีวาจาเป็นมิตร
ฆราวาสธรรม
บุคคลใดผู้อยู่ครองเรือนประกอบด้วยศรัทธา มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ธรรมะ ธิติ จาคะ บุคคลนั้นแล ละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก
เชื่อไม่เชื่อ..กับศาสตร์ลับในธรรมะ..ช่วยสร้างเสน่ห์ให้คนรักคนชอบ..มาบอก
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
สัปปุริสธรรม 7
ธรรมที่ทำให้คนเป็นสัตบุรุษ หรือ เป็นคนดี มีคุณธรรม เป็นคนเก่ง มี 7 ประการ ด้วยกัน คือ 1. ธัมมัญญุตา เป็นผู้รู้จักเหตุ 2. อัตถัญญุตา เป็นผู้รู้จักผล 3. อัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักตน 4. มัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักประมาณ 5. กาลัญญุตา เป็นผู้รู้จักกาล 6. ปริสัญญุตา เป็นผู้รู้จักชุมชน 7. ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโรปรัญญุตา เป็นผู้รู้จักบุคคล
กุศลกรรมบถ ศีล..มารดาแห่งความดี
ศีล เป็นเขตแดน เป็นเครื่องปิดกั้นความทุจริต ทำ จิตให้ร่าเริงแจ่มใสและเป็นท่าหยั่งลงมหาสมุทร คือ นิพพานของ พระพุทธเจ้าทั้งหลาย เพราะฉะนั้น บุคคลพึงรักษาศีลให้บริสุทธิ์ (สีลวเถรคาถา)