พกชาดก-ชาดกว่าด้วยบาปกรรมของผู้ฉลาดแกมโกง
พระเชตะวันมหาวิหาร ณ เวลาในพุทธกาลสมัยหนึ่งยังมีพระภิกษุผู้มีศิลปะในการตัดเย็บ ย้อมสี ปะ ชุนจีวร ฝีมือดีจนเป็นที่ยอมรับในหมู่สงฆ์ ภิกษุรูปนี้ชาญฉลาดในการทำจีวรให้งาม ภิกษุสงฆ์ทั้งหลายพากันขนานนามตามความหมายนั้นว่า พระจีวรวัฒฑกะ
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - ผู้ก่อบาปกรรม ย่อมแพ้สงครามแห่งชีวิต
นายจุนทะ ผู้เลี้ยงชีพด้วยการขายเนื้อสุกร เขามีชีวิตอยู่กับการฆ่าสุกรมาตลอด ๕๕ ปี ทุกวันหลังจากที่ฆ่าสุกรแล้ว เขาจะแบ่งเนื้อไว้กินกันเองในครอบครัว และนำเนื้อส่วนที่เหลือไปขายเลี้ยงชีพ ตลอดชีวิตที่ผ่านมา เขาไม่เคยประกอบกุศลกรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา แม้พระบรมศาสดาจะประทับอยู่ในวัดเวฬุวัน ซึ่งอยู่ใกล้ๆ บ้าน เขาก็ไม่เคยไปวัด ไม่เคยถวายอาหารแม้เพียงข้าวทัพพีเดียว มีแต่ทำบาปกรรมมาตลอด
ทหารตำรวจ บางครั้งปราบปรามโจรผู้ร้ายจนเสียชีวิตตามหน้าที่ บาปกรรมที่เกิดขึ้นนี้น้อยกว่าการทำปาณาติบาตทั่วไปหรือไม่ - หลวงพ่อตอบปัญหา
ทหารตำรวจ บางครั้งปราบปรามโจรผู้ร้ายจนเสียชีวิตตามหน้าที่ บาปกรรมที่เกิดขึ้นนี้น้อยกว่าการทำปาณาติบาตทั่วไปหรือไม่ คนเรามีนิสัยเห็นแก่ตัวเพราะอะไร ควรวางตัวกับเพื่อนร่วมงานเห็นแก่ตัวอย่างไร
มหาเศรษฐีกากวฬิยะ
ภิกษุทั้งหลาย บาปกรรมแม้ประมาณน้อยที่บุคคลบางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น ย่อมนำเขาไปนรกได้ บาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรมที่ให้ผลในภพปัจจุบัน
กรรมของคนโกงที่ธรณีสงฆ์
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าเป็นเปรตเข้าถึงทุคติ เพราะได้ทำบาปกรรมเอาไว้ จึงจากมนุษยโลกนี้ไปสู่เปตโลก
กรรมของการไม่เป็นภรรยาที่ดี
คนพาลทำบาปกรรมทั้งหลาย ก็ไม่รู้สึกตัว ผู้มีปัญญาทราม ย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมของตนในภายหลัง ดุจถูกไฟไหม้
เปรตงูยักษ์และเปรตกาดำ
จริงอยู่ บาปกรรมที่บุคคลทำแล้วย่อมไม่สูญหายไป เหมือนน้ำนม ที่รีดในขณะนั้นคงไม่แปรไป แต่บาปกรรมนั้นจะต้องติดตามเผาคนพาล เหมือนไฟที่ถูกเถ้าปกปิดเอาไว้
โทษของความอิจฉาริษยา
ฉันได้ทำบาปกรรมเอาไว้ จึงไปสู่เปตโลก ฉันอนุโมทนาทานที่ท่านให้แล้ว จึงไม่มีภัยแต่ที่ไหน ขอท่านพร้อมด้วยญาติทุกคน จงมีอายุยืนนานเถิด ขอท่านจงประพฤติธรรมและให้ทานในโลกนี้ แล้วจะเข้าถึงฐานะอันไม่เศร้าโศก เมื่อท่านกำจัดมลทินคือความตระหนี่พร้อมด้วยรากแล้ว ใครๆ ก็ติเตียนท่านไม่ได้ จักเข้าถึงโลกสวรรค์
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 5 พบมหาพรหม)
บุคคลใด ละบาปกรรมที่ตนทำไว้แล้วได้ด้วยกุศล บุคคลนั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง ดุจดวงจันทร์พ้นแล้วจากหมอก ฉะนั้น