พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 97 พระเจ้าปภาวันตจักรพรรดิราช
พระเจ้าปภาวันตะทรงกระทำการบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยการถวายรัตนะทั้งเจ็ดประการอันถือเป็นสมบัติคู่บุญของพระเจ้าจักรพรรดิ
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 91 บารมี อุปบารมี ปรมัตถบารมี
พระโพธิสัตว์ทั้งหลายกว่าจะได้มาตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น พระโพธิสัตว์จะต้องบ่มบารมีทั้งสามสิบทัศให้แก่รอบแบบย้ำๆซ้ำๆ
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 78 พุทธการกธรรม ธรรมสำหรับบ่มพระโพธิญาณ
พุทธการกธรรมนี้ ถือเป็นธรรมที่สำคัญอย่างยิ่ง หากพระโพธิสัตว์ปราศจากพุทธการกธรรมแล้ว ก็ไม่สามารถที่จะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้
บุญติดตามไปถึงภพหน้า
บุญที่คนเราทำไว้จะติดตามตัวเราไปเหมือนเงา ไม่ได้สูญหายไปไหน และจะส่งผลมากมายเกินคาด คล้ายกับการที่เรานำเมล็ดผลไม้เพียง ๑ เมล็ดมาปลูก เมื่อเติบโตเต็มที่ก็จะให้ผลครั้งละมากมายและเก็บผลได้นานหลายปี บุญแม้ทำเพียงครั้งเดียวก็ให้ผลมหาศาล และนำไปใช้ได้ข้ามภพข้ามชาติ บาปก็เช่นกันทำเพียงครั้งเดียวก็จะส่งผลร้ายข้ามภพข้ามชาติ
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_1
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใดเหล่าหนึ่ง พึงบำเพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ ให้เต็มเปี่ยมฉันใด ข้าแต่ท่านมหาวีระ ขอท่านจงบำเพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ ให้เต็มเปี่ยมฉันนั้นเถิด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ตรัสรู้ที่โพธิมณฑล ฉันใด ข้าแต่ท่านมหาวีระ ขอท่านจงตรัสรู้ที่โพธิมณฑลของพระชินเจ้า ฉันนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ทรงประกาศพระธรรมจักร ฉันใด ขอท่านจงประกาศพระธรรมจักร ฉันนั้น
ถ้าเราถูกนินทาโดยไม่มีมูลความจริงควรทำอย่างไร
ทุกครั้งที่คุณถูกกล่าวร้าย ก็ไม่ควรเดือดร้อนอะไร ทำตามอย่างที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทำให้ดูเป็นแบบแผน คือก้มหน้าก้มตาทำความดีต่อไป ไม่สนใจต่อคำนินทาว่าร้ายนั้น
ชนะมารตั้งแต่ยังไม่ตรัสรู้ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
การเป็นนักสร้างบุญบารมี
ทางมาแห่งบุญ หรือวิธีการเพื่อให้ได้บุญมาขจัดอุปสรรคของชีวิต เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ คือ สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือเรื่องที่จัดเป็นการทำบุญ เป็นหนทางในการทำความดีหรือเป็นทางมาแห่งบุญ มี ๓ ประการ คือ
คำอธิษฐานจิตผ้าไตรจักรพรรดิมหาสมบัติ ประธานกองกฐินสามัคคี
คำอธิษฐานจิตผ้าไตรจักรพรรดิมหาสมบัติในปี เพื่อสร้างบารมีและความเจริญในชีวิตและธุรกิจ โดยมีการถวายผ้าไตรแด่พระภิกษุสงฆ์ในวันทอดกฐินสามัคคี.
คำสอนของวัดพระธรรมกายถูกต้องตามแนวทางคำสอนดั้งเดิมของพระพุทธศาสนาหรือไม่
คำสอนของวัดพระธรรมกายถูกต้องตามแนวทางคำสอนดั้งเดิมของพระพุทธศาสนาหรือไม่ ทำไมถึงเน้นแต่การชวนคนทำบุญอย่างเดียว