ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 2
พระราชาสดับดังนั้น ทรงมีปีติเป็นยิ่งนัก จึงทรงดำริว่า ลูกเรามาเกิดเพื่อสืบต่อวงศ์ของเราโดยแท้ เปรียบเหมือนล้อรถที่หมุนตามกันมา ฉะนั้น เหตุนี้เองพระองค์จึงทรงขนานพระนามของพระราชโอรสว่า เนมิราชกุมาร ซึ่งแปลว่า กุมารผู้เป็นเหมือนล้อรถ ที่หมุนเวียนมาเพื่อตามรักษาประเพณีอันดีงามของวงศ์ตระกูลให้สืบต่อไป
ทศชาติชาดก เรื่องสุวรรณสาม ผู้ยิ่งด้วยเมตตาบารมี ตอนที่ 5
กล่าวถึงสองหนุ่มสาว ทุกูล (ทุ กู ละ) และปาริกา เมื่อรู้ว่าวันแต่งงานถูกกำหนดขึ้นแล้ว ก็รู้สึกกระวนกระวายใจ ต่างคิดหาวิธีที่จะระงับการแต่งงานครั้งนี้ให้ได้ เมื่อมองไม่เห็นหนทางใด ทั้งสองจึงแอบเขียนจดหมายถึงกัน แล้วให้บริวารของตน นำไปมอบให้กับอีกฝ่าย โดยไม่ให้บิดามารดาของตนได้ล่วงรู้
สังคมในอุดมคติ
ผู้ที่แผ่เมตตาเป็นประจำ จะทำให้หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย หากฝันก็ฝันแต่เรื่องที่เป็นสิริมงคล จะเป็นที่รักทั้งของมนุษย์ และอมนุษย์ เทวดาจะคุ้มครองรักษา ศัสตราวุธ อัคคีภัย ภัยพิบัติทั้งหลายจะไม่มากลํ้ากราย จะทำให้เป็นผู้มีจิตใจมั่นคง ผิวพรรณวรรณะผ่องใส เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ แม้ละโลกไปแล้ว จะเข้าถึงพรหมโลก
ความงดงามของพรหมภูมิ ตอนจบ
อย่างไรก็ดี การมีชีวิตที่ยืนยาวอยู่บนพรหมโลก กลับเป็นการตัดโอกาสตนเองในการลงมาสั่งสมบุญบารมีในเมืองมนุษย์ พรหมในหลายๆ ชั้นหมดโอกาสได้พบพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๘ ( แก้ปมปริศนา )
ในครั้งนี้ ยังคงนำเรื่องมโหสถบัณฑิตผู้มีปัญญาเฉียบแหลมมาให้ได้ติดตามกันต่อ แม้มโหสถบัณฑิตอายุยังน้อย แต่ก็สามารถแก้ไข หรือพิจารณาอรรถคดีต่างๆ ได้ถูกต้องแม่นยำอย่างน่าอัศจรรย์ จนชนะใจอำมาตย์ว่า บุคคลนี้แหละที่พระราชาทรงสุบินนิมิตว่า ทรงเห็นไฟกองเล็กๆ ผุดขึ้นท่ามกลาง ไฟกองใหญ่ ๔ กอง ไฟกองเล็กนี้สว่างไสว พุ่งขึ้นไปได้ถึงพรหมโลกทีเดียว
วันลอยกระทง 2567 ประเพณีและประวัติวันลอยกระทง วิธีทำกระทงง่ายๆ
วันลอยกระทง ปีนี้ตรงกับวันศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ.2567 ประเพณีลอยกระทง ประวัติวันลอยกระทง ตำนานการลอยกระทงเพื่อต้อนรับพระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากเทวโลกภาพวันลอยกระทง วิธีทำกระทงพร้อมภาพประกอบ ลอยกระทงออน์ไลน์
ปานียชาดก ชาดกว่าด้วยการทำบาปแล้วรังเกียจบาปที่ทำ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสเป็นของเล็กน้อยไม่มีเลย ธรรมดาว่าภิกษุต้องข่มกิเลสที่เกิดแล้วแล้วเสีย บัณฑิตครั้งก่อนเมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติต่างก็ข่มกิเลสทั้งหลายเสียได้บรรลุปัจเจกพุทธญาณ ”
ฌานโสธนชาดก ชาดกว่าด้วยสุขเกิดจากสมาบัติ
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารทรงปรารภการที่พระสารีบุตรสามารถพยากรณ์ปัญหาที่พระองค์ตรัสถามโดยย่อได้อย่างพิศดาร ณ ประตูสังกัสนคร
วันอาสาฬหบูชา 2567 ประวัติความเป็นมาความสำคัญและธรรมเนียมปฏิบัติ
วันอาสาฬหบูชา 2567 ตรงกับวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2567 วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศาสนา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ในสมัยพุทธกาลมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการ
มณิกัณฐชาดก ชาดกว่าด้วยขอสิ่งที่ไม่ควรขอ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่าการขอไม่เป็นที่ชอบใจ แม้ของพวกนาคที่อยู่ในนาคพิภพอันสมบูรณ์ด้วยรัตนทั้ง ๗ ประการ จะป่วยกล่าวไปใยถึงมนุษย์ทั้งหลายเล่า ”