ยิ่งมืด ยิ่งใกล้สว่าง
ความหดหู่ทดท้อ หมดกำลังใจ เพราะเผชิญกับความลำบากแสนสาหัส ในขณะวิบากกรรมกำลังส่งผล มักทำให้หลายคน อยากตัดสินใจยุติชีวิตเพื่อให้พ้นจากความทุกข์ในปัจจุบัน
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - นางยักษิณี ผู้ใคร่ในธรรม
นางยักษิณีตนหนึ่ง ได้อุ้มอุตราผู้เป็นธิดา และจูงปุนัพพสุผู้เป็นลูกชายแสวงหาอาหารริมกำแพง และริมคูคลองหลังวัดพระเชตวัน เมื่อไปถึงซุ้มประตู นางก็เห็นพุทธบริษัทสงบนิ่งไม่ไหวติง ฟังธรรมด้วยความเคารพในพระพุทธเจ้า เหมือนเปลวประทีปตั้งไว้ในที่ที่ไม่มีลม จึงเกิดความเลื่อมใสแล้วคิดว่า ก็ในที่นี้คงจะมีของแจกให้เรากิน เพื่อประทังชีวิตได้แน่
อานิสงส์แห่งอัญชลีกรรม
ผู้ใดได้ถวายบังคมเราตถาคต กล่าวสรรเสริญชมเชยญาณของเรา ด้วยจิตอันเลื่อมใสไม่คลอนแคลน ผู้นั้นจะไม่ไปสู่ทุคติเลยนับจากภพชาตินี้ไป และผู้นั้นจักเสวยเทวรัชสมบัติ ๖๔ ครั้ง บุคคลนั้นจักได้เป็นพระเจ้าประเทศราชครอบครองแผ่นดิน ๘๐๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๐๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าประเทศราชเสวยสมบัติอยู่ในแผ่นดินอีกนับครั้งไม่ถ้วน
บุญเกิดขึ้นจากการให้ทาน
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้ผลแห่งการจำแนกทาน เหมือนอย่างเรารู้ไซร้ สัตว์ทั้งหลายยังไม่ให้แล้วก็จะไม่พึงบริโภค อนึ่ง ความตระหนี่อันเป็นมลทิน
พระพุทธคุณ ตอน ผู้ไกลจากกิเลส
พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงเป็นที่พึ่ง ไม่ทรงเกี่ยวข้องกับกิเลสใด และไม่ทรงประกอบด้วยโทษใด ชื่อว่าทรงไกลจากกิเลส และโทษนั้น เพราะเหตุนั้น จึงปรากฏพระนามว่า อรหํ
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สหายแห่งธรรม
แม้พญาช้างจะมีอุปสรรคคือไม่ได้กายมนุษย์ แต่ด้วยดวงใจที่เต็มเปี่ยมด้วยพลังศรัทธา จึงสามารถทำกิจทุกอย่าง คอยอุปัฏฐากพระพุทธองค์โดยมิได้ขาดตกบกพร่องเลย พญาช้าง ได้ใช้งวงจับหม้อไปตักน้ำฉันน้ำใช้มาตั้งไว้ เวลากลางวันก็เอางวง หักกิ่งไม้มากวาดบริเวณที่พัก เพื่อให้พระบรมศาดาได้ใช้เป็นที่เสด็จเดินจงกรม
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ตายก่อนตาย ตายแล้วสบาย
ความตายของมนุษย์มีอยู่ ๓ ประเภท คือ ตายหลังตาย ตายขณะตาย และตายก่อนตาย ตายหลังตาย คือ ขณะตายนั้นไม่มีสติ หรือไม่รู้เนื้อรู้ตัวมาก่อน เสียชีวิตกระทันหัน เช่นนี้เป็นต้น กว่าจะรู้ตัวว่า ตนเองเสียชีวิตแล้ว ก็ ๓ วันบ้าง ๗ วันบ้าง หรือเกินไปกว่านั้นก็มี ต้องไปเป็นกายสัมภเวสีที่ล่องลอยไปมา จะทักทายใครก็ไม่มีใครรู้เรื่อง เพราะอยู่กันคนละภพภูมิ
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - มหาพรหมผู้เห็นผิด
พระบรมศาสดาตรัสเตือนพรหมตรงๆ ว่า "พกพรหม ผู้เจริญ ตัวท่านกำลังตกอยู่ในอำนาจของอวิชชา เพราะได้พูดสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง กล่าวถึงธรรมที่ไม่อาจนำออกจากทุกข์ว่า เป็นธรรมที่นำออกจากทุกข์ได้ ท่านกล่าวเช่นนี้ เป็นเรื่องที่ไม่สมควรแก่ท่านเลย"
อานิสงส์เอาของหอมฉาบทากุฏิ
บุคคลใดเอาของหอมทาพื้นพระคันธกุฎี ด้วยผลของกรรมนั้น ไม่ว่าเขาจะเกิดในชาติใดๆ จักเป็นผู้มีกลิ่นกายหอมทุกชาติไป จักเป็นผู้เจริญด้วยกลิ่นคือคุณแห่งศีล จักเป็นผู้ไม่มีอาสวะแล้วจักปรินิพพาน เพราะกรรมที่ทำไว้ดีนั้น และเพราะการตั้งเจตจำนงไว้
ขอจงเป็นอยู่เถิด
พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อมีผู้ถวายบังคม จะทรงพระอิริยาบถที่สง่างาม ทรงเปล่งพระสุรเสียง ดุจท้าวมหาพรหมที่ไพเราะเสนาะโสต เป็นที่จับใจ เปี่ยมด้วยโสรจชะโลมด้วยน้ำอมฤต ตรัสระบุชื่อของผู้นั้นแล้วกล่าวว่า จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด ข้อนี้เป็นธรรมเนียมของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย