อานิสงส์การให้ทาน
ในสมัยพระปทุมุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้ามีชาวนาผู้ใจบุญท่านหนึ่ง ได้ฟังธรรมจากพระบรมศาสดาแล้ว ก็อยากถวายข้าวสารใหม่ที่ตัวเองลงมือเก็บเกี่ยวกับมือแด่พระพุทธองค์พระองค์ทรงทราบความตั้งใจดีของชาวนาแล้วจึงตรัสสัมโมทนียกถาเพื่อเพิ่มพูนศรัทธาว่า “ชื่อว่าสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติตรง มีปัญญาและศีลมีจิตมั่นคง ทานที่ถวายในสงฆ์ย่อมมีผลมาก
น้ำมหาประลัย
การดื่มน้ำเมานั้น นอกจากได้ชื่อว่าเป็นการล่วงละเมิดศีลข้อ ๕ แล้ว พระพุทธองค์ยังทรงชี้โทษไว้ว่าเป็นอบายมุข คือ ปากทางแห่งความเสื่อม ผู้ดื่มน้ำเมาจะพบกับความหายนะอย่างน้อย ๖ ประการ คือ...
อานิสงส์ถวายน้ำอ้อย
“นายโคบาลย่อมต้อนโคทั้งหลาย ไปสู่ที่หากินด้วยท่อนไม้ ฉันใด ความแก่ชราและความตายย่อมต้อนอายุ ของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น” (ขุ.ธ.)
อานิสงส์ถวายทานบ่อยๆ
“ดูก่อนเทพธิดาผู้มีกายอันประดับประดาแล้ว สวมทิพย์มาลัย ทรงพัสตราภรณ์อันสวยงาม วิมานตั่งแก้วไพฑูรย์ของท่านโอฬาร รวดเร็วดังใจ ไปได้ตามใจปรารถนาส่องแสงประกายดังสายฟ้าแลบลอดหลืบเมฆ เพราะบุญอะไร ท่านจึงมีวรรณะเช่นนี้โภคะทุกอย่างที่น่าปรารถนาจึงเกิดขึ้นแก่ท่าน”
อานิสงส์การเป็นภรรยาที่ดี
บุญนั้นแล ย่อมเป็นของเขา เขาพาบุญนั้นไป และบุญนั้น ย่อมติดตามเขาไปเหมือนเงาตามตัว
อานิสงส์การให้ทานเพื่อขจัดความตระหนี่
การจะเอาชนะกิเลสในตัวได้นั้นต้องอาศัยกำลังใจสูง จึงจะสามารถสวนกระแสกิเลส
อานิสงส์แห่งการสดุดียกย่องพระพุทธคุณ
การยกย่องสดุดี คือ การประกาศคุณธรรมของผู้ทำความดี เพื่อเป็นแบบอย่างให้ผู้อื่นได้รับรู้และปฏิบัติตาม ความหอมแห่งคุณธรรมที่เราได้ประกาศไปนี้ จะส่งผลย้อนกลับมาหาตนให้เป็นผู้ที่น่าคบหา น่าเข้าใกล้และน่าสนทนาด้วย ดังเรื่องราวของพระสุคันธเถระ ผู้ใช้ปัญญาในการยกย่องสรรเสริญพระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
อานิสงส์บูชาการอุบัติขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
การอุบัติเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้าทั้งหลายนำสุขมาให้ ดวงจันทร์ในคืนวันเพ็ญโคจรไปในอากาศ สว่างกว่าหมู่ดวงดาวด้วยกำลังแห่งรัศมี เฉกดังพระชินสีห์เมื่ออุบัติในโลก รุ่งโรจน์กว่าสัตว์ทั้งมวล
อานิสงส์บุญถวายสังฆทาน
สังฆทาน มิได้หมายถึง การถวายถังเหลืองที่บรรจุสิ่งของจตุปัจจัยแด่พระสงฆ์ตามมโนภาพในใจคนทั่วไป แต่ สังฆทาน คือทานที่มุ่งเจาะจงไปในหมู่สงฆ์โดยไม่เลือกถวายจำเพาะรูปใดรูปหนึ่ง ถวายให้เป็นสิทธิ์กลางแด่คณะสงฆ์ เพื่อคณะสงฆ์จะจัดสรรแบ่งปันต่อไป การถวายสังฆทานแม้ถวายพระภิกษุเพียงรูปเดียว
อานิสงส์ถวายความหอม
“ของหอม” ตรงกันข้ามกับ “ของเหม็น” ของหอมเป็นสุคันธารมณ์ที่ชื่นชอบ พออกพอใจ ชุ่มชื่นใจแก่คนทั่วไป ความสุนทรีย์ในกลิ่นหอมช่วยทำให้อารมณ์ผ่อนคลาย ร่างกายจะก่อเกิดสารแห่งความสุขไปพร้อมกับความหอมที่จรุงใจด้วยพืชพรรณธรรมชาติที่สกัดออกมาเป็นของหอมอันทรงคุณค่า