เพื่อโอกาสแห่งศรัทธาบวชพระในพรรษา ๓ โครงการ
ยังเป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วง ที่การบวชพระช่วงเข้าพรรษาในแต่ละวัดทั่วประเทศมีจำนวนน้อย หลายวัดมีเพียงเพื่อให้ครบ ๕ รูป ตามจำนวนในพุทธบัญญัติที่จะสามารถรับกองกฐินของศรัทธาญาติโยมที่จะมาถวายในช่วงออกพรรษาเท่านั้น
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหลักคำสอนพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่
ก่อนจะสรุปว่า “การสร้างวัดใหญ่” ผิดหรือถูก ก็อยากให้ลองเปิดพระไตรปิฎกศึกษาประวัติการสร้างที่ประทับของพระบรมศาสดาและการสร้างวัดในสมัยพุทธกาลกันเลยดีกว่า จะได้กระจ่างชัดว่า..วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหรือไม่ ?
ทำไม ? จีวรต้องเป็นสีเหลือง
คำถาม : จีวรของพระสงค์จะต้องเป็นสีเหลือง หรือสีกรักเสมอไปหรือไม่ ..เพราะว่ามีชาวต่างชาติสงสัยถามว่าทำไม พระสงฆ์ถึงต้องห่มตัวสีเหลืองด้วย
คำสอนในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มีข้อสังเกตเรื่องคำสอนที่ชาวพุทธเถรวาทเราควรตระหนักรู้ก็คือ
หลักวินิจฉัยว่าใครคือพุทธเถรวาท
หัวใจของพุทธศาสนาคือ พระรัตนตรัย เกณฑ์การวินิจฉัยว่าใครเป็นพุทธเถรวาทหรือไม่จึงอยู่ที่ว่า เขาเคารพบูชาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ หรือไม่
โปรดเกล้าสมณศักดิ์พิเศษ 12 สิงหา 85 รูป
"ในหลวง" โปรดเกล้าฯ สมณศักดิ์พิเศษ ราชินี ครบ 7 รอบ พระสงฆ์ 85 รูป เจ้าอาวาสวัดพนัญเชิง ขึ้นชั้นธรรม ที่พระธรรมรัตนมงคล ขณะที่เจ้าอาวาสวัดพระบาทน้ำพุ ขึ้นชั้นราช ที่พระราชวิสุทธิประชานาถ เตรียมเข้ารับพระราชทานเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ 12 สิงหาคม นี้
วิบากกรรมออนไลน์ ดิ่งลงขุมลึกกว่าที่คาดคิด
ในยุคปัจจุบัน มีคนจำนวนไม่น้อยเข้าใจว่า..การด่าว่าพระภิกษุสงฆ์เป็นสิ่งไม่ผิดซ้ำร้ายยังคิดว่า..เป็นการช่วยพระพุทธศาสนาอีกด้วย เพราะเท่ากับเป็นการกำจัดพระไม่ดีให้หมดไป!
ใบลานเถรวาทจารพระศาสน์สืบสายคัมภีร์
เถรวาท เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในพระพุทธศาสนา โดยศัพท์แปลว่า “ตามวาทะของพระเถระ” ซึ่งหมายถึงพระอรหันต์ขีณาสพ ๕๐๐ รูป ผู้ทำปฐมสังคายนา ณ ถ้ำสัตบรรณคูหา หลังพุทธปรินิพพาน ๓ เดือน เป็นนิกายหลักที่นับถือในประเทศศรีลังกา และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใ
อนุรักษ์คัมภีร์ใบลานไทยรักษาไว้ให้แผ่นดิน
นับแต่การตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แสงแห่งธรรมของพระบรมศาสดาเป็นประดุจแสงสว่างส่องนำทางชีวิตให้แก่ชาวโลกตลอดมา ภายหลังพุทธปรินิพพาน พระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ทำสังคายนาเพื่อเรียบเรียงพระธรรมวินัยและทรงจำสืบทอดต่อ ๆ กันมาด้วยการท่องจำเรียกว่า “มุขปาฐะ”