มงคลที่ ๔ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม - ทําสิ่งแวดล้อมให้เป็นปฏิรูปเทส ( ๒ )
มีข้อที่น่าสังเกต คือ ไม่ ว่าเราจะไปอยู่ที่ไหน ควรทำตัวให้เป็นที่รักของคนรอบข้าง พึงสร้างสัมพันธไมตรีที่ดีกับทุกๆ คน เพราะการมีพรรคมีพวกจะทำให้เกิดความสะดวก ยามมีภัยหรือเกิดวิกฤติคับขัน จะได้มีผู้ช่วย ปกป้องคุ้มครอง หรืออย่างน้อย ก็เอาตัวรอดได้ อย่างนี้ถือว่า เริ่มสร้างปฏิรูปเทสให้เกิดขึ้นแล้ว
วัดพระธรรมกายเบเนลักซ์ ให้การต้อนรับคณะสงฆ์จาก 28 วัด ในทวีปยุโรป
วัดพระธรรมกายเบเนลักซ์ ประเทศเบลเยี่ยม ได้ให้การต้อนรับคณะสงฆ์ 28 วัด ที่เดินทางมาประชุม ในนามคณะกรรมการบริหารภาคพื้นยุโรป พร้อมทั้งจัดพิธีมุทิตาสักการะอายุวัฒนมงคลแด่พระครูภาวนาพุทธิธรรม และมุทิตาพระมหาเถระและพระเถระ
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - อานุภาพพระปริตร
เหมือนพญานกยูงได้เจริญพระปริตรทุกวัน นายพรานไม่อาจจับได้ตลอดถึง ๗ปี แต่เนื่องจากวันหนึ่ง พญานกยูงได้ยินเสียงนกยูงตัวเมีย ทำให้เช้าวันนั้นลืมเจริญพระปริตร จึงต้อง ไปติดบ่วงของนายพรานอย่างง่ายดาย หรือวิทยาธรตนหนึ่งลอบเป็นชู้กับพระอัครมเหสีของพระเจ้าพาราณสี ขณะกำลังจะถูกจับก็ทำตัวหายวับไปด้วยกำลังมนต์ วิทยาธรสามารถพ้นจากการถูกจับ ด้วยกำลังพระปริตรที่ตนท่องไว้จนขึ้นใจ
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๕ )
สามเณรเดินต่อไป เห็นช่างศร กำลังเอาลูกศรลนไฟ เล็งดูด้วยหางตา แล้วดัดให้ตรง จึงเรียนถามพระเถระด้วยความอยากรู้ ตามประสาเด็กอายุ ๗ ขวบ ที่มีบารมีแก่กล้า เมื่อได้คำตอบแล้ว ก็ตรึกธรรมะไปว่า ถ้าสามารถดัดลูกศรที่ไม่มีจิต ให้ตรงได้ ทำไมหนอ คนซึ่งมีจิตแท้ๆ จึงไม่สามารถบังคับจิตของตนเองได้"
กรรมที่ทำให้คนอื่นแท้งลูก
บุคคลทำกรรมใดแล้ว เดือดร้อนใจภายหลัง มีหน้านองด้วยน้ำตาร้องไห้อยู่ เสวยผลแห่งกรรมใด กรรมนั้นทำแล้วไม่ดีเลย บุคคลทำกรรมใดแล้ว ไม่เดือดร้อนในภายหลัง มีหัวใจแช่มชื่นเบิกบาน เสวยผลแห่งกรรมใด กรรมนั้นทำแล้วเป็นการดี บุคคลรู้กรรมใดว่าเป็นประโยชน์แก่ตน ควรลงมือกระทำกรรมนั้นก่อน
สำรวมจิตเพื่อชีวิตที่สมบูรณ์
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยาก ที่ละเอียดอ่อน มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เพราะว่าจิตที่คุ้มครองดีแล้ว นำสุขมาให้
พิธีมุทิตาสักการะพระมหาเถระและพระเถระ ประจําปีพุทธศักราช 2567
พิธีมุทิตาสักการะพระมหาเถระและพระเถระ ประจําปีพุทธศักราช พ.ศ. 2567 ณ วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ในวันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน เวลา 13.30 น.
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ความทุกข์เป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทุกชีวิตต่างปรารถนาความสุข แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - สนทนาอย่างบัณฑิต
"ดูก่อนมหาบพิตร ถ้ามหาบพิตรจักสนทนาตามเยี่ยงอย่างบัณฑิต อาตมภาพก็พร้อมจะสนทนากับมหาบพิตร แต่ถ้ามหาบพิตรจักสนทนาตามเยี่ยงอย่างของพระราชา อาตมาก็จักไม่สนทนาด้วย" พระยามิลินท์ตรัสถามว่า “บัณฑิตทั้งหลายสนทนากันอย่างไร”
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย