การทำงานของพระอานนท์
คำถาม : พระอานนท์ทำงานอย่างไร ติดตามพระพุทธองค์ได้อย่างไร
จุนทะสามเณร ผู้มีส่วนริเริ่มสังคายนา
จุนทะเป็นน้องชาย ๑ใน ๗ ของพระสารีบุตรผู้เป็นอัครสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ออกบวชเป็นสามเณรในสำนักพระสารีบุตร ผู้เป็นพี่ชายโดยมีพระอานนท์เป็นพระอุปัชณาย์ (พระผู้บวชให้) เมื่อบวชแล้วก็บำเพ็ญเพียรเจริญวิปัสสนา ไม่นานนักก็บรรลุธรรมเป็นอรหันต์ตอนอายุ ๗ ขวบพร้อมคุณวิเศษ มักอาสาแสดงปาฏิหาริย์แทนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เราจะรู้ได้อย่างไรว่ากฎแห่งกรรมมีจริงหรือไม่
ในพระพุทธศาสนามีหลักการอะไรที่จะพิสูจน์ให้เราเห็นชัดว่า กฎแห่งกรรมมีจริง คือทำดีได้ดีจริง ทำชั่วได้ชั่วจริง และเราจะมีวิธีการพิสูจน์ได้อย่างไรว่า สิ่งนั้นเป็นกรรมที่เราทำเอาไว้ในชาติก่อน
เราจะปลูกฝังให้ลูกหลานทำหน้าที่ชาวพุทธให้สมบูรณ์ได้อย่างไร ?
ก่อนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพานนั้น พระองค์ทรงมอบหน้าที่สำคัญยิ่งให้แก่ชาวพุทธไว้ ๔ ประการ โดยตรัส เรื่องนี้กับพระอานนท์ พุทธอุปัฏฐาก เพื่อให้นำไปประกาศให้ชาวพุทธรับรู้รับทราบและปฏิบัติตามกันอย่างทั่วถึง
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สู่เส้นทางนิพพาน
พระบรมศาสดาประทานพระโอวาทว่า "อานนท์ เธอเป็นผู้ที่ได้ทำบุญไว้ดีแล้ว ในบรรดาพุทธอุปัฏฐากทั้งหลายในภัทรกัปนี้ เธอเป็นยอดของอุปัฏฐากเหล่านั้น เพราะฉะนั้น เธอจงหมั่นประกอบความเพียรเถิด จักเป็นผู้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะในภพชาตินี้" แล้วท่านพระอานนท์ ท่านได้บรรลุธรรมโดยขณะที่กำลังเองหลังลงนอน เรื่องราวเป็นอย่างไรนั้น
สุราปานชาดก ชาดกว่าด้วยโทษของการดื่มสุรา
พวกดาบสดื่มสุราแล้วก็เมามายไม่ได้สติ บางพวกลุกขึ้นฟ้อนรำ บางพวกขับร้อง รุ่งเช้าพอสร่างเมา ฤาษีพากันตื่นเห็นอาการอันวิปปริตของตนนั้น ต่างก็ร้องไห้คร่ำครวญ “ โธ่ พวกเราไม่ได้กระทำอันสมควรแก่บรรพชิตเลย แล้วถ้าอาจารย์รู้จะเสียใจเพียงไร ที่มีศิษย์ทำตัวเยี่ยงนี้ ”
การอนุโมทนาและมุทิตาจิต
คำว่า “อนุโมทนาบุญ” มีความหมายอย่างไร? การที่เรามุทิตาจิตถือเป็นการอนุโมทนาบุญอย่างหนึ่งหรือไม่? สำหรับคนที่เราไม่ชอบ เราจะวางใจร่วมยินดีกับเขาอย่างไร? การมุทิตาหรืออนุโมทนาบุญมีผลต่อสภาวะใจของเราใช่ไหม?
ผู้หญิงและผู้ชาย แตกต่างกันอย่างไร?
ผู้หญิงและผู้ชาย มีอะไรที่แตกต่างกัน สิทธิ เสรีภาพ สรีระ ผู้ชายกล้าหาญอดทนและมีพละกำลัง ผู้หญิงละเอียดอ่อน ใจเย็น และอ่อนโยน ทำไมผู้ชายและผู้หญิงจึงต่างกัน และอะไรเป็นตัวกำหนดให้แตกต่าง...
วิสาขามหาอุบาสิกา (โอวาท ๑๐)
การสงเคราะห์บุตรและภรรยา เป็นอุดมมงคล
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ก่อนลมหายเฮือกสุดท้าย)
สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ มีความเกิดขึ้น และเสื่อมไปเป็นธรรมดา ครั้นเกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป การเข้าไปสงบระงับสังขารเหล่านั้น นำสุขมาให้