หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
โปรดเกล้าสมณศักดิ์พิเศษ 12 สิงหา 85 รูป
"ในหลวง" โปรดเกล้าฯ สมณศักดิ์พิเศษ ราชินี ครบ 7 รอบ พระสงฆ์ 85 รูป เจ้าอาวาสวัดพนัญเชิง ขึ้นชั้นธรรม ที่พระธรรมรัตนมงคล ขณะที่เจ้าอาวาสวัดพระบาทน้ำพุ ขึ้นชั้นราช ที่พระราชวิสุทธิประชานาถ เตรียมเข้ารับพระราชทานเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ 12 สิงหาคม นี้
ชัยชนะครั้งที่ 5 (ตอน ชนะการถูกกล่าวหาจากนางจิญจมาณวิกา)
พระพุทธเจ้าผู้เป็นจอมมุนี ได้ทรงชนะคำกล่าวร้ายของนางจิญจมาณวิกา ผู้ทำอาการเหมือนหญิงมีครรภ์ ได้ทำไม้สัณฐานกลมผูกติดไว้ ด้วยวิธีที่งดงาม คือความสงบพระทัยในท่ามกลางมหาชน ด้วยเดชแห่งพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 1 เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข และการสนับสนุนผู้พร้อมเพรียงกัน ก็เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ ภิกษุสมานสงฆ์ให้พร้อมเพรียงกันแล้ว ย่อมบันเทิงในสรวงสวรรค์ตลอดกัป
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (5)
บุคคลอยู่ในเรือนของผู้ใดแม้คืนเดียว ได้กินข้าวและดื่มนํ้าแล้ว ไม่ควรคิดร้ายแก่ผู้นั้นแม้ด้วยใจ ผู้คิดร้ายต่อบุคคลเช่นนั้น ชื่อว่าเผาฝ่ามืออันชุ่ม และชื่อว่าประทุษร้ายมิตร บุคคลนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใด ไม่ควรหักรานกิ่งของต้นไม้นั้น เพราะผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นคนเลวทราม
พิธีบรรพชา ธรรมทายาท รุ่นที่ 10 วัดพระธรรมกาย ดี.ซี.
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 10 กรกฎาคม 2554 ที่ผ่านมา ผู้มีบุญวัดพระธรรมกาย ดี.ซี จัดงานพิธีบรรพชา ธรรมทายาท รุ่นที่ 10 จำนวน 12 รูป
อุปสมบทหมู่ รุ่นบูชาธรรม 68 ปี พระเทพญาณมหามุนี
การบวช เป็นการยกฐานะจากผู้นับถือพระรัตนตรัย ขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนตรัยเป็นหนทางสู่พระนิพพานการบวชเป็นสิ่ง ที่กระทำได้ยาก กว่าจะมีการ บวช ต้องถึงพร้อมด้วยองค์ประกอบหลายประการ
จิตแพทย์ชี้ภาพ เสียง เหตุรุนแรงทำเด็กซึมซับ เลียนแบบ แนะวิธีทำความเข้าใจให้"ลูก" เวลาดูข่าวการเมือง
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3 รายละเอียด และมูลเหตุของการสังคายนา
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น