กรณีศึกษา คุณปู่กระจ่าง ใจวงศ์ ตอนที่ 8
หลังจากที่หลวงน้าของลูกสำเร็จหลักสูตรการฝึกทหารชุดพิเศษแล้ว ตัวท่านได้เป็นนายทหารที่อยู่ในหน่วยดูแลความสงบเรียบร้อยของประชาชนภายในแคว้นของพระราชาองค์ที่จะออกบวช
โลสกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของความอิจฉาริษยา
ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล ณ ชนบทแคว้นโกศลมีหมู่บ้านชาวประมงประมาณ 1,000 ครอบครัว อาศัยอยู่ด้วยความผาสุกตลอดมา ครั้นต่อมาหญิงคนหนึ่งในหมู่บ้านได้ตั้งครรภ์ นับตั้งแต่นั้นมาทุกครอบครัวต่างก็ทำมาหากินฝืดเคืองลำบากมากขึ้นตามลำดับ
ความตระหนี่เป็นภัยในวัฏฏะ
คนผู้ตระหนี่กลัวความยากจนจึงไม่ให้อะไรๆ แก่ผู้ใดเลย ความกลัวยากจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ คนตระหนี่ย่อมกลัวความอดอยากข้าว ความกลัวนั่นแหละ จะกลับมาถูกต้องคนพาล ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
แรงบันดาลใจของ MMC รุ่นที่ 3
ประชากรในหลายประเทศแถบแอฟริกา ยังคงอดอยากเพราะขาดอาหาร เนื่องจากภัยจากความแห้งแล้งและภัยสงคราม ไม่ว่าจะอดอยากอย่างไร พวกเค้าก็มีสิทธิ์ ที่จะได้พบกับสันติสุขที่อยู่ภายใน
The ceremony of pouring water to dedicate merit to the dead people
An example effect of the ceremony of pouring water to dedicate merit to the dead people.
เปรตกับอสุรกายต่างกันตรงไหน
โดยรูปลักษณ์แล้ว เปรตกับอสุรกายมีความคล้ายกันมาก แต่ว่าอสุรกายนั้นจะมีรูปร่างที่พิลึกประหลาดมากกว่า อย่างไรก็ตาม บางครั้งก็ยากที่จะแยกให้เห็นความแตกต่างได้ ในการพิจารณาจึงให้ดูที่ลักษณะของทุกขเวทนาที่ได้รับ ความทุกข์ทรมานของเปรตนั้น เนื่องมาจากความหิว ความอดอยากเข้าครอบงำเป็นหลัก ส่วนอสุรกายนั้น มีความทุกข์ทรมานเพราะความกระหายน้ำเป็นหลัก สัตว์ในภูมิทั้ง 2 นี้ ต้องประสบกับความลำบากในการครองชีวิตอย่างแสนสาหัส เพราะว่าเขาเป็นสัตว์ในอบายภูมิ คือ ภูมิที่มีแต่ความชั่วร้าย ไม่มีความสุขนั่นเอง
Aid in Burma Dried Tear
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพม่า (2)
“กาลทาน” เป็นทานของผู้ฉลาด รู้จักคิดรู้จักทำได้ถูกกาลถูกเวลา ให้สิ่งของจำเป็นในยามที่ผู้รับมีความต้องการอย่างยิ่ง เพราะในเวลานี้น้ำทุกหยด ข้าวทุกเม็ด เป็นสิ่งที่มีค่าอย่างยิ่งต่อทุกชีวิตที่กำลังประสบภัยพิบัติ ผู้ใดที่ให้ได้ถูกกาลเช่นนี้ ย่อมได้อานิสงส์ยิ่งใหญ่ จะไม่มีวันได้พบได้รู้จักกับความอดอยากยากเข็ญตลอดไป
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๑ )
ชายคนหนึ่งชื่อ มหาทุคตะ เพราะความเป็นผู้ยากจนมาก ยากจนกว่าใครทั้งหมดในเมือง บางวันเขาและภรรยาต้องไปขออาหารเหลือเดน ที่ชาวบ้านจะเททิ้งมากินประทังชีวิต แม้มหาทุคตะจะจนทรัพย์แต่ไม่อับจนปัญญา ในวันนั้นบุญเก่าตามมาทัน ส่งผลให้เกิดปัญญา เขาคิดว่า "ที่เราอดอยาก ยากจนอยู่ทุกวันนี้ เพราะความตระหนี่ของเราแท้ๆ ดังนั้น วันนี้ เราจะต้องทำบุญใหญ่ให้ได้"
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า