ขอเชิญร่วมสนับสนุนพระไตรปิฎกฉบับธรรมชัย และอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน
ขอเชิญร่วมสนับสนุน พระไตรปิฎกฉบับธรรมชัย และอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน "น้อมบูชาธรรม 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย " วันเสาร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2567 เวลา 09.30 น. ณ ห้องแก้วสารพัดนึก 2 วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
โครงการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ณ วัดย่านอ่างทอง
นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ร่วมโครงการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ณ วัดย่านอ่างทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
อนุรักษ์คัมภีร์ใบลานไทยรักษาไว้ให้แผ่นดิน
นับแต่การตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แสงแห่งธรรมของพระบรมศาสดาเป็นประดุจแสงสว่างส่องนำทางชีวิตให้แก่ชาวโลกตลอดมา ภายหลังพุทธปรินิพพาน พระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ทำสังคายนาเพื่อเรียบเรียงพระธรรมวินัยและทรงจำสืบทอดต่อ ๆ กันมาด้วยการท่องจำเรียกว่า “มุขปาฐะ”
คัมภีร์ใบลาน ขุมทรัพย์ทางปัญญาของชาวพุทธ
ทีมงานโครงการพระไตรปิฎกวัดพระธรรมกาย จึงนำคัมภีร์ใบลานเหล่านี้ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมในอดีต มาเชื่อมต่อกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของโลกยุคปัจจุบัน เพื่อสานต่อไปยังอนาคต ด้วยการใช้กล้องคุณภาพสูงบันทึกหน้าคัมภีร์ใบลานเป็นไฟล์ภาพดิจิทัล เพื่อทำสำเนาสำรองเก็บรักษาเอกสารต้นฉบับ ทำให้ผู้สนใจสามารถศึกษาจากไฟล์ภาพโดยไม่จำเป็นต้องเข้าถึงคัมภีร์ต้นฉบับโดยตรง
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย มุ่งมั่นสำรวจ รวบรวมคัมภีร์ใบลานจากทั้ง 4 สายจารีตหลัก คือ คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล อักษรพม่า อักษรขอม และอักษรธัมม์ (ล้านนา, อีสาน) และศึกษาค้นคว้าคัมภีร์ใบลานดังกล่าวตามหลักวิชาคัมภีร์โบราณ แล้วจัดทำพระไตรปิฎกฉบับวิชาการขึ้น
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ได้ให้การต้อนรับ หัวหน้าภาควิชาพุทธศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยโอตานิ เเละคณะ
พระมหาสุธรรม สุรตโน ป.ธ.9, ดร. ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ได้ให้การต้อนรับ หัวหน้าภาควิชาพุทธศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยโอตานิ ประเทศญี่ปุ่น เเละคณะ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๐)
แนวการสอนและการปฏิบัติของพระเดชพระคุณหลวงปู่เป็นไปตามแบบของโบราณาจารย์ ซึ่งสงเคราะห์ลงได้ในหลักกายคตาสติกรรมฐานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางแบบไว้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๙)
สำหรับในฉบับที่แล้วนั้น ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านให้ย้อนกลับไปรู้จักกับประวัติศาสตร์ของ “พระธรรมจักรศิลา” และความเชื่อมโยงกันของการที่พระพุทธศาสนาได้เริ่มเข้ามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิแห่งนี้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ หรือประมาณ ๑,๔๐๐ กว่าปีล่วงมาแล้ว
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
สืบทอดพุทธธรรม...จากพุทธกาลสู่โลกปัจจุบัน
คัมภีร์พระไตรปิฎกอักษรบาลีถือเป็นข้อมูลชั้นปฐมภูมิที่สืบทอดคำสอนเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีมาตั้งแต่ราว ๆ พ.ศ. ๔๐๐ เศษ ณ ประเทศศรีลังกา และถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนในยุคต่อมา ที่สร้างคัมภีร์ใบลานด้วยความเคารพศรัทธา เพื่อเผยแผ่หรือทดแทนของเดิมที่สูญหายหรือถูกทำลาย