สักกปัญหสูตร ตอนที่ ๓ (ปัญหาจอมเทพ)
โลกมนุษย์ เป็นโลกแห่งการสร้างบารมี เป็นสถานที่ที่ทุกคนสามารถใช้สร้างบารมีได้อย่างเต็มที่ แต่ก็มีไม่มากนักที่จะรู้เป้าหมายของการเกิดมาเป็นมนุษย์ มีเพียงเหล่าบัณฑิตนักปราชญ์เท่านั้น ที่ดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่ประมาท ซึ่งการเกิดมาในภพชาตินี้ของมนุษย์ทุกๆ คน เกิดมาเพื่อสร้างบารมี และต้องใช้ชีวิตในแต่ละวัน
สถานที่สัตว์เกิด หรือสัตว์ที่อยู่ - วงจรชีวิต
ภาพวันพระพุทธเจ้าเปิดโลก ในวันออกพรรษาจะมีประเพณีตักบาตรเทโว เป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในครั้งพุทธกาล เสด็จลงมาที่เมืองสังกัสสนคร อยู่ที่ประเทศอินเดีย พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเปิกโลกทำให้สัตว์นรก เปรต เทวดา มนุษย์ เห็นกันและกัน ด้วยพุทธานุภาพ
ลักษณะมหาบุรุษ (2)
สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
รักสุดซึ้งถึงปรโลก
สัตว์นรกบางพวกท่านก็เห็นแล้ว สัตว์เดียรัจฉาน เปรต อสูร มนุษย์ หรือเทวดาบางพวก ท่านก็เห็นแล้ว ผลกรรมของตน ท่านก็เห็นประจักษ์ด้วยตนเองแล้ว เราจักนำท่านไปส่งยังเมืองปาฏลีบุตร ท่านไปถึงเมืองปาฏลีบุตรแล้ว จงทำกรรมอันเป็นกุศลให้มาก
สักกปัญหสูตร ตอนที่ ๒ (โคปกเทพบุตร)
การปฏิบัติธรรม เจริญสมาธิภาวนา เป็นกรณียกิจ คือ กิจที่ควรทำอย่างยิ่ง เพราะเป็นกิจหลักที่จะนำพาทุกๆ คน ให้เข้าถึงความสุขที่แท้จริง คือ
ลักษณะมหาบุรุษ (๒)
วิเคราะห์การให้ทานของพระเวสสันดร (๒)
เรือที่แล่นออกสู่ทะเลมหาสมุทร เมื่อมีมรสุมต้องรีบหามุมหลบก่อน ครั้นมรสุมสงบ จึงแล่นเรือต่อไป พวกเราก็เช่นเดียวกัน หากชีวิตกำลัง
ท่องสวรรค์ ตอน อสูรพิภพ
ในสมัยแรกที่มฆมาณพ และสหาย 32 คน ได้ไปบังเกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ใหม่ๆ พวกเทพบุตรที่อยู่ก่อน นำน้ำคันธบาลที่เป็นทิพย์ ซึ่งเป็นน้ำเมาสวรรค์มาเลี้ยงต้อนรับ ดื่มแล้วจะมึนเมา พวกเทพที่อยู่ก่อนนำมาเลี้ยง แต่กินกันเองจนเมาขาดสติ
ความงดงามของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ในท่ามกลางเทพนครนั้น มีเวชยันตปราสาทสูงถึง 1,000 โยชน์ มีความสวยงามสุดพรรณนา ล้วน แล้วประดับด้วยรัตนชาติ 7 ประการ เพราะเป็นที่ประทับของท้าวสักกะจอมเทพ
จอมเทพอสูร
ดูก่อนอสูรผู้ใจบาป เราทั้งปวงนี้มีความประสงค์จะขออภัย ไยท่านกล้ามาให้ซึ่งภัยเสียเล่า เราใคร่จะขอรับแต่อภัยอย่างเดียว เมื่อท่านมาให้ภัยกระนี้ เรามิรับดอก ภัยนั้นจงตกอยู่กับตัวท่านเองเถิด สัมพรอสูรเอ๋ย