รู้ชีวิตมีเกิดก็ต้องดับ "พระปู" พักงานบันเทิงบวชเงียบ
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 18
สุนันทสารถีเมื่อได้ฟังเหตุผลอย่างชัดเจนก็เข้าใจ เกิดความเลื่อมใสว่า แม้พระราชกุมารผู้เป็นรัชทายาทยังมีพระประสงค์จะทรงผนวช แล้วตัวเราจะอยู่ครองเรือนไปทำไม จึงกราบทูลว่า
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 183
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงอุปมาถึงบุคคลผู้ติดอยู่ในกามคุณว่า เหมือนคนมีหนี้ ก็ยอมให้เจ้าหนี้ด่าว่าได้ จองจำได้ จนกระทั่งสั่งฆ่าได้ ดังนั้นโทษของกามคุณจึงเปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิงอันร้อนแรง หากพลาดท่าตกลงไปในบ่วงกามมีแต่จะเร่าร้อนตลอดเวลา เพราะถูกไฟ คือ ราคะ แผดเผา มโหสถบัณฑิตสามารถจับทางพระเจ้าจุลนีได้ ด้วยการกล่าวพรรณนาความงามของพระนางนันทาเทวี
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 176
ฝ่ายมโหสถบัณฑิต นำเสด็จพระเจ้าวิเทหราชขึ้นประทับบนพลับพลาเรียบร้อยแล้ว ก็ทูลเชิญพระราชธิดาปัญจาลจันทีขึ้นสู่ที่ประทับอันประดับประดาตกแต่งไว้อย่างดีแล้ว ให้พระนางประทับอยู่คู่กับพระเจ้าวิเทหราช ครั้นแล้วจึงได้ทำพิธีราชาภิเษกสมรสให้ทั้งสองพระองค์
อานิสงส์ของการสร้างวัด-ที่นี่มีคำตอบ
คนที่มีจิตศรัทธาสร้างวัดและร่วมบุญสร้างวัดวาอารามต่างๆ จะได้อานิสงส์อย่างไร
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - พระปัญญาบริสุทธิ์
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบัณฑิต ผู้รู้ ผู้มีปัญญา ต้องดำรงตนเป็นทูตสันติภาพได้ด้วย นอกจากจะมีปฏิภาณที่ยอดเยี่ยมแล้ว ต้องไม่มีอคติความลำเอียง และต้องรู้จักแสวงจุดร่วมสมานจุดต่าง คอยประสานรอยร้าวเหมือนเป็นกาวใจ
พระมหากษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก ตอน ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์สถาปนาขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี รัชกาลที่ ๑ ทรงย้ายราชธานีจากฝั่งกรุงธนบุรีมาฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และพระราชทานนามราชธานีแห่งใหม่ว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ฯ”
สามเณรทัพพะ ได้รับยกย่องทางจัดเสนาสนะ
สามเณรทัพพะ บวชและได้บรรลุอรหัตผลตั้งแต่อายุ ๗ ขวบ เป็นสามเณรรูปแรกที่สำเร็จเป็นพระอรหันต์และเป็นภิกษุรูปแรกที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบวชยกให้ท่านเป็นภิกษุทั้งที่อายุไม่ครบยี่สิบปี
กษัตริย์จิกมี ทรงอภิเษกสมรสกับหญิงสามัญชนแล้ว
พระราชพิธีราชาภิเษกสมรสของสมเด็จพระราชาธิบดีจิ๊กมี แห่งภูฏาน มีขึ้นอย่างเรียบง่าย เมื่อช่วงเช้าวันนี้ ท่ามกลางความปลาบปลื้มยินดีของพสกนิกรชาวภูฏานทั้งประเทศ
ทฤษฎีใหม่พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 'ยกสุโขทัยให้สยาม'