ทบทวนโอวาทหลวงพ่อธัมมชโย บ่ายวันอาทิตย์ 11 สิงหาคม 2567
บุญที่เกิดจากการทำทาน รักษาศีล และเจริญภาวนาแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ที่ได้จากการบริจาคทาน การรักษาศีล และการเจริญภาวนา
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง
เสาหลักต้นเล็ก
เด็กบางคนอายุยังน้อยกลับต้องทำงานหาเลี้ยงครอบครัว กลายเป็นเสาหลักให้ครอบครัวแม้ยังเป็นเสาหลักต้นเล็กอยู่
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
คนยากจน vs คนจนยาก
ทำไมคนบางคนถึงยากจน แต่ทำไมคนบางคนถึงจนยาก รวยแล้วรวยอีก ...อะไรเป็นสาเหตุที่อยู่เบื้องหลังสิ่งนี้
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
ปราศจากวิญญาณ
วิญญาณ ในพระพุทธศาสนา ไม่ใช่หมายถึง วิญญาณล่องลอยที่เป็นผี แต่หมายถึงสภาพธรรมที่รู้อารมณ์ คือ เป็นสภาพรู้ เป็นใหญ่ในการรู้ เรียกว่าวิญญาณ คือ จิต ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงวิญญาณก็คือสภาพธรรมที่เป็นจิต วิญญาณหรือ จิตจึงมีหลายประเภทเช่น จักขุวิญญาณ หรือ จิตเห็น โสตวิญญาณ หรือ จิตได้ยิน ดังนั้นเมื่อวิญญาณหรือจิตเกิดขึ้น เป็นสภาพรู้ ก็ต้องมีสิ่งที่ถูกรู้ เช่น จิตเห็น(จักขุ วิญญาณจิต) เมื่อเกิดขึ้นก็ต้องมีสิ่งที่ถูกเห็นคือ สี เป็นต้น
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้