ปลูกฝังนิสัยในแบบญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่นถือเป็นประเทศที่คนส่วนมากมีระเบียบวินัย และตรงต่อเวลาเป็นอย่างมาก แต่เราจะนำข้อดีต่างๆของชาวญี่ปุ่นมาปรับใช้และพัฒนาตนเองได้อย่างไร? และทำไมประเทศญี่ปุ่นขึ้นชื่อว่าเป็นประเทศผู้นำทางด้านเศรษฐกิจ?เป็นเพราะความมีระเบียบวินัยหรือความรับผิดชอบตรงต่อเวลา
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน
ร่างพ.ร.บ.สถาบันวิจัยระบบส่งเสริม พระพุทธศาสนา
คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม จัดสัมมนาวิชาการรับฟังความคิดเห็นในร่างประราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบส่งเสริม พระพุทธศาสนา เพื่อส่งเสริม พัฒนากิจการพระพุทธศาสนา และแก้ไขพระพุทธศาสนาให้มีประสิทธิภาพ
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
รณรงค์รับโทร.-ใช้สวัสดีแทนฮัลโหล
นักเรียนโรงเรียนบ้านตูม เข้าร่วมโครงการค่ายอบรมศีลธรรม
นักเรียนจากโรงเรียนบ้านตูม จังหวัดนครราชสีมา ได้เข้าร่วมอบรมในโครงการค่ายอบรมศีลธรรม
พุทธศาสนา ‘บูม’ ในรัสเซีย ชี้คำสอนพิสูจน์ได้จริง-เตรียมแปลพระไตรปิฎกรองรับ
ทำไมคนไทยจึงอ่านภาษาอังกฤษไม่ค่อยชัด
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”