I can’t respect monks, can I?
คำว่าอจินไตยหมายถึงอะไร ?
อจินไตย แปลว่า เรื่องที่ไม่ควรคิด เพราะเกินภูมิปัญญาของมนุษย์ที่จะใช้ความคิดปกติไปคิดได้ คิดแล้วจะมีส่วนแห่งความเป็นบ้าการตั้งประเด็นปัญหา รวบรวมข้อมูล ทดลองวิจัย สุดท้ายก็สรุป ใช้ไม่ได้กับเรื่องอจินไตย
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
มงคลที่ ๑๘ ทำงานไม่มีโทษ - คนกินเดนหรือคนกินซากศพ
ฤๅษีได้ยินนกพูดดังนั้น ต่างถามกันว่า ที่นกแขกเต้าพูดนั้น ชมเราหรือติพวกเรากันแน่ นกพูดขึ้นทันทีว่า เราไม่ได้กล่าวชมพวกท่านหรอก เพราะพวกท่านกินซากศพ ไม่ได้กินเดน ฤๅษีย้อนถามว่า พวกเราได้สละเรือน สละเพศฆราวาสออกบวช ไม่เคยไปเบียดเบียนใคร มีชีวิตอยู่ในป่าด้วยการอาศัยซากสัตว์ที่เสือเหลือง เสือโคร่งล่ามาแล้วทิ้งไว้ อาชีพของเราบริสุทธิ์ ท่านจะมาติเตียนเราได้อย่างไร
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง
วัดพระธรรมกายบอสตัน จัดงานบุญวันอาทิตย์
วัดพระธรรมกายบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดงานบุญวันอาทิตย์ และพิธีถวายกองบุญต่างๆผ่านระบบออนไลน์
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - กลิ่นแห่งความหลุดพ้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสตอบติสสฤๅษีว่า ชนเหล่าใดฆ่าสัตว์ ไม่สำรวมในกามทั้งหลาย มีความเห็นว่า ทานที่บุคคล ให้แล้วไม่มีผล เป็นผู้ประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ให้ นี้ชื่อว่ากลิ่นดิบของชนเหล่านั้น เนื้อ และโภชนะไม่ชื่อว่าเป็นกลิ่นดิบ และสัตว์เหล่าใดขวนขวายในอกุศลกรรม ตายแล้วย่อมเข้าถึงที่มืด มีศีรษะลงตกไปสู่นรก
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
วิสาขามหาอุบาสิกา (อดีตชาติของวิสาขา).
บุคคลในโลกนี้ ตั้งใจไว้ชอบ กล่าววาจาชอบ งานชอบด้วยกาย ผู้มีการสดับมาก ทำบุญไว้มาก ในชีวิตอันมีประมาณน้อย ในมนุษยโลกนี้ บุคคลนั้นเป็นผู้มีปัญญา เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสวรรค์
เราคือ..ผู้ออกแบบชีวิต
การที่เรามองโลกด้วยมุมมองแตกต่างกัน เป็นเพราะเราเกิดมาแตกต่างกัน ได้สัมผัสโลกในแง่มุมที่ต่างกัน และมีประสบการณ์ในโลกนี้ต่างกัน ซึ่งในทางพระพุทธศาสนาระบุว่า “กรรม”เป็นตัวกำหนดความแตกต่างเหล่านี้