“ยุรนันท์”ลุยโซนนิ่งหอพักนักศึกษา
"กษมา"ยันหนุนครูพระสอนศีลธรรม
ชัยชนะครั้งที่ 1 (ตอนที่ 1 ชนะพญามาร)
พระจอมมุนีได้ชัยชนะพญามาร ผู้เนรมิตแขนตั้งพัน มีอาวุธครบมือ ขี่คชสารครีเมขล์พร้อมด้วยเสนามาร มาโห่ร้องกึกก้อง ด้วยธรรมวิธีมีทานบารมีเป็นต้น ด้วยเดชแห่งพุทธชัยมงคลนั้น ขอสรรพมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน...
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ทำอย่างไรได้อย่างนั้น
บางคนมีความเข้าใจไม่ถูกต้อง คิด ว่าบุญบาปไม่มี เพราะเป็นสิ่งที่มองไม่เห็น จึงไม่เชื่อเรื่องบุญกุศล แต่ผู้รู้ทั้งหลาย ได้พิสูจน์แล้วว่า บุญบาปมีจริง เป็นของละเอียดที่รู้เห็นได้ด้วยธรรมกายเท่านั้น สิ่งที่ละเอียดลึกซึ้งเกินกว่าวิสัยของปุถุชนจะคิดเองได้ เป็นสิ่งที่ไม่ควรคิด เป็นอจินไตย ดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อจินไตย ๔ อย่างนี้ ไม่ควรคิด ผู้ใดคิด ผู้นั้นพึงมีส่วนแห่งความเป็นบ้า ได้รับความลำบากเปล่า"
วิธีแก้กิเลสในตัว
กุสลา ธมฺมา ธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล ให้ผลเป็นความสุข อกุสลา ธมฺมา ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล ให้ผลเป็นความทุกข์ อพฺยากตา ธมฺมา ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากตา ให้ผลเป็นกลางๆ ไม่สุขไม่ทุกข์
ปาฏิหารย์ "ทะเลแยก" บนเกาะจินโด
บททดสอบของการจะเป็นชาวพุทธ
ผมบอกเพื่อนว่า คุณครูไม่ใหญ่ให้บททดสอบผมเป็นเวลา 1เดือน ที่ผมจะต้องผ่านให้ได้จึงจะได้เป็นชาวพุทธ เพื่อนๆก็บอกว่า "เรามั่นใจว่าคุณสามารถผ่านได้" ซึ่งผมเองได้ตั้งใจจดทุกข้อทดสอบลงในสมุด ปรากฏว่าเพื่อนแต่ละคน เข้ามารุมขอดู บ้างก็บอกว่าง่าย บ้างก็บอกว่าเป็นสิ่งที่ดีนะ แล้วพวกเขาก็มาขอลอกข้อเหล่านั้นไปใส่สมุดของตัวเอง และเพื่อนชาวโซโลมอน อีก 8 คน บอกว่า เขาอยากขอเข้าร่วมบททดสอบอันนี้ด้วยได้ไหม
จักษุของพระพุทธเจ้า
มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาความสุข ความอบอุ่นใจ และความปลอดภัยในชีวิต จึงพยายามเสาะแสวงหาที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริง แต่หลายชีวิตก็ยังไม่รู้ว่า ที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริงนั้นคือสิ่งใด อยู่ที่ตรงไหน จะเข้าถึงได้ด้วยวิธีการใด จึงแสวงหากันวุ่นวาย และเต็มไปด้วยความทุกข์ทรมาน แต่ถ้าทุกคนในโลกได้รู้จักที่พึ่งที่ระลึก
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวเวียดนาม
เป็น อยู่ คือ วิถีชาวเวียดนาม ผู้คนบนแผ่นดินเวียดนาม ประเทศเวียดนามประกอบด้วยชนหลายเชื้อชาติรวม 54 กลุ่ม มีวิวัฒนาการมาจากการผสมผสานของเผ่าพันธุ์ต่างๆ จากการรุกรานของจีน จึงทำให้เกิดการอพยพย้ายถิ่นของชนกลุ่มน้อยเผ่าต่างๆจากเหนือลงสู่ใต้ ซึ่งในบรรดาชนกลุ่มน้อยเหล่านี้ แต่ละชนเผ่าต่างก็มีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง
พระนันทกเถระ (๑)
ความเคลือบแคลงสงสัยของหมู่ชน ย่อมไม่มีในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ ว่าพระจันทร์จะพร่องหรือเต็มก็ตาม แต่พระจันทร์ก็คงเต็มดวง ฉันใด ภิกษุณีเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีต่อการแสดงธรรมของพระนันทกะ และมีความดำริบริบูรณ์แล้ว ก็ฉันนั้น