แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย ยึดหลัก “อนุปุพพิกถา” ซึ่งเป็นแนวการสอนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงใช้มากที่สุด เป็นการสอนไปตามลำดับ 5 ข้อ คือ
หมวก 6 ใบ คิด 6 แบบ
สมองเรา สามารถแยกแยะวิธีคิดเป็นแบบต่าง ๆ ได้ 6 แบบ โดยแต่ละแบบสามารถวางแผนล่วงหน้าได้ หากมีการวางแผนล่วงหน้าก็จะส่งผลให้มีกลยุทธในการคิดได้ดีขึ้น และนำมาใช้ในการประเมิน คิดในการแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ หรือคิดสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างดีขึ้น
ตัวอย่างโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นเพราะโครงสร้างของร่างกายเสียสมดุล
โรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพมีได้สารพัดรูปแบบ แล้วแต่ว่า เส้นประสาทหรือเส้นเลือดส่วนไหนได้รับผลกระทบ ตัวอย่าง เช่น อาการปวดต่างๆ โรคเกี่ยวกับตา หู คอ จมูก โรคเกี่ยวกับกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ ฯลฯ
นักเรียนอนุบาล...ตัวอย่าง
ตอนเช้าลูกจะตื่น ตีสี่ครึ่ง นั่งจนตะวันขึ้น และระหว่างวันก็จะทำการบ้าน 10ข้อ พอตกเย็นหลังจากฟังรายการโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยาจบ ก็จะนั่งตามเสียงนำนั่งของพระเดชพระคุณหลวงพ่อ แล้วก็นั่งต่อเองอีกหน่อยจนกระทั่งหลับในอู่ทะเลบุญค่ะ
สรุปกรรมที่ทำให้เกิดปัญหาสังคม
กรรมที่ทำให้เกิดปัญหาสังคม มีสาเหตุมาจากกรรมหลายประการ เช่น การผิดศีล ข้อ 1,ข้อ 3 ในอดีตและปัจจุบัน การคบคนพาล...
ความปลื้มจากใจกองพันเนื้อนาบุญ ตอน จะเป็นพระแท้ตอบแทนคุณพระพุทธศาสนา
ก่อนมาบวช ผมเป็นคนที่เฮฮาปาร์ตี้มาก ถ้าพูดถึงศีล 5 โดยเฉพาะข้อ 3 กับ ข้อ 5 ผิดประจำเลยครับบอกตรงๆว่าผมไม่ค่อยสนใจเรื่องศีลธรรมเพราะพอตื่นเช้ามาปุ๊บก็รีบไปทำงาน เลิกงานกลับคอนโด แถวคอนโดก็มีแหล่งสังสรรค์ ชีวิตผมก็วนเวียนอยู่แค่นี้เอง พอได้มาบวชผมถึงได้รู้ว่าชีวิตเรามันมีมากกว่านั้น และรู้แล้วนะครับว่าเราเกิดมาทำไม
จุดเริ่มต้นบุญที่ยิ่งใหญ่การบวชนั้นได้อานิสงส์มาก
การบวชนั้นมีอานิสงส์มาก ใครได้อุปสมบทตนเองในพระพุทธศาสนาด้วยศรัทธาเลื่อมใสจะได้อานิสงส์ 64 กัป บิดามารดาได้ 32 กัป ผู้ได้บรรพชาบุตรของตนหรือผู้อื่นก็จะไม่ไปสู่อบายภูมิ
10 Point Homework for daily meditation practice#1
คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน 10 Point Homework for daily meditation practice การบ้าน 10 ข้อ เพื่อการฝึกสมาธิ
10 Point Homework for daily meditation practice#2
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”