ทศชาติชาดก เรื่อง ภูริทัต ตอนที่ 1 การสร้างบารมีของพระโพธิสัตว์
วันนี้ เราจะได้ศึกษาประวัติการสร้างบารมีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในพระชาติที่เกิดเป็นพญานาคภูริทัต ผู้ยิ่งด้วยศีลบารมี ซึ่งเป็นพระชาติสำคัญอีกชาติหนึ่ง ที่ทรงสร้างบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน ที่ปรากฏเด่นชัด
สรุปผู้ได้รับประกาศเกียรติคุณ และ รางวัลพุทธคุณูปการ
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - มุ่งสู่โลกุตรธรรม
พระฤๅษีจิตตบัณฑิตมีความสุขในฌาน อยากจะให้น้องชายได้รับรสแห่งความสุขภายในบ้าง จึงเหาะมาลงที่พระราชอุทยาน ท่านได้แต่งเพลงแก้ให้หนูน้อยคนหนึ่ง เอาไปขับร้องให้พระราชาฟัง หนูน้อยก็รีบวิ่งไปเฝ้าพระราชา แล้วร้องเพลงถวายว่า
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - อดทนให้ถึงที่สุด
พระกุมารทรงระลึกชาติหนหลัง ก็รู้ว่าก่อนที่ตนจะมาเกิดในพระราชฐานนี้ ได้จุติมาจากเทวโลก และทรงระลึกย้อนไปอีกว่า ก่อนที่จะอยู่ในเทวโลก ได้มาจากมหานรกขุมหนึ่ง และก่อนที่จะตกนรก ได้ เคยเกิดเป็นพระราชาอยู่ในแคว้นนี้เอง จึงทรงดำริว่า ถ้าเราครองราชสมบัติอีก ก็จะต้องสร้างกรรม และต้องเสวยทุกข์ใหญ่ในมหานรกอีกอย่างแน่นอน
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า และพระคุณของพระองค์ ก็เป็นอจินไตย
หนทางสู่ธรรมกาย
ดูก่อนวาเสฏฐะ คำว่า ธรรมกายก็ดี คำว่า พรหมกายก็ดี คำว่า ธรรมภูต ก็ดี หรือคำว่า พรหมภูตก็ดี เป็นชื่อของพระตถาคต
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๓ ( กำเนิดพระเวสสันดร )
ครั้นพระโพธิสัตว์ออกมาจากครรภ์ของพระมารดา เพียงลืมพระเนตรทั้งสองได้เท่านั้น ก็เหยียดพระหัตถ์ออกมาพลางกล่าวกับพระมารดาว่า “ข้าแต่พระแม่เจ้า หม่อมฉันจะบริจาคทาน มีทรัพย์อะไรพอที่จะให้ลูกบริจาคได้บ้าง” พระชนนีตรัสตอบว่า “ลูกรัก ลูกจงบริจาคทานตามอัธยาศัยเถิด” จากนั้น
วัดพระธรรมกายปฏิเสธข่าวสร้างเจดีย์ที่เชียงราย
ตามที่เว็ปไซต์ไทยรัฐออนไลน์ http://www.thairath.co.th/content/480935 ลงข่าว คสช.สั่งจับ! สร้างเจดีย์สาย‘ธรรมกาย’บนยอดดอยเชียงราย วัดพระธรรมกายขอชี้แจ้งว่า การสร้างเจดีย์ดังกล่าว ไม่เกี่ยวข้องกับวัดพระธรรมกาย
วัดพระธรรมกายแวนคูเวอร์ จัดกิจกรรมงานบุญวันอาทิตย์
วัดพระธรรมกายแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา ได้จัดกิจกรรมงานบุญวันอาทิตย์ และพิธีถวายกองบุญค่าน้ำค่าไฟ เพื่อบำรุงวัด
คณะอาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เยี่ยมชมวัดพระธรรมกาย
คณะอาจารย์และนักศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ได้เข้าเยี่ยมชมเพื่อเรียนรู้แนวทางการดำเนินงาน ของวัดพระธรรมกาย ในฐานะองค์กรทางพุทธศาสนาร่วมสมัย