ชีวิตมนุษย์ประเสริฐที่สุด
กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ การกลับได้อัตภาพเป็นมนุษย์ เป็นการยาก
พระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
พระบรมสารีริกธาตุ หมายถึงอัฐิของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีลักษณะคล้ายมุกใส เพราะธาตุของพระองค์ถูกกลั่นบริสุทธิ์แล้วเมื่อพระองค์ยังมีชีวิตอยู่ ธาตุที่ประกอบเป็นร่างกายก็บริสุทธิ์จนมีรัศมีแผ่ออกมารอบพระวรกายข้างละวา
สามัคคีคือพลัง
ความสามัคคีของหมู่คณะนำความสุขมาให้ การสนับสนุนผู้ที่สามัคคีกัน ก็นำความสุขมาให้ ผู้ที่ยินดีในบุคคลผู้สามัคคีกัน มั่นคงในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ
ทำให้ถูกหน้าที่
คนพาลทั้งหลายผู้ไม่ถูกผูกมัด กล่าวขึ้นในที่ใด ย่อมถูกผูกมัดในที่นั้น ส่วนบัณฑิต แม้ถูกผูกมัดแล้ว กล่าวขึ้นในที่ใด ก็หลุดพ้นได้ในที่นั้น
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๖ ( ลี้ภัยการเมือง )
วันหนึ่ง เสนกะได้แอบปรึกษาหารือกับปุกกุสะ กามินทะ และเทวินทะ ว่าทำอย่างไรจึงจะกำจัดมโหสถได้ มิเช่นนั้นพวกตน ก็จะเหมือนวัวแก่ที่ไม่มีค่าแก่การเทียมเกวียน เสนกะได้ออกอุบายด้วยการแอบไปลักขโมยพระจุฬามณีของพระราชา ให้ท่านปุกกุสะไปขโมยสุวรรณมาลา...
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๖ ( เิดินทางสู่เขาวงกต )
แม้พระโพธิสัตว์ทรงรู้ว่า ถูกขับไล่ให้ไปอยู่ในป่าก็มิได้หวั่นไหว รุ่งขึ้นของวันใหม่ ท่านได้บริจาคสัตตสตกมหาทาน ด้วยความปีติยินดี เหมือนไม่มีเหตุร้ายใดๆ เกิดขึ้น พวกเทวดาได้แจ้งพระราชาในชมพูทวีป ว่า พระเวสสันดรทรงบำเพ็ญมหาทาน และกำลังพระราชทานนางขัตติยกัญญา พวกกษัตริย์จึงเสด็จมาด้วยเทวานุภาพ รับนางขัตติยกัญญาเหล่านั้นไปเป็นมเหสี
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๖ ( ผู้ผดุงความยุติธรรม )
หนุ่มชาวนาตื่นขึ้นมาไม่เจอโคของตน ก็รีบวิ่งออกติดตามรอยเท้าโคไป เมื่อตามไปพบก็ร้องบอกโจรให้นำโคคืนมา ตนจะไม่เอาเรื่องเอาราวอะไร แต่เหตุการณ์กลับตรงข้าม เพราะโจรอ้างว่าโคนี้เป็นของเขา เมื่อไม่ยอมกันทั้งสองเกิดการทะเลาะวิวาท ชาวบ้านจึงพามาหามโหสถให้ช่วยตัดสินว่า ใครเป็นเจ้าของโคตัวนี้กันแน่
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ไม่ควรดูหมิ่นบุญ
ขึ้นชื่อว่าบุญ อันใครๆ ไม่ควรดูหมิ่นว่าเล็กน้อย บุคคลถวายทานแด่พระภิกษุสงฆ์ โดยมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขแล้ว ไม่ควรดูหมิ่นบุญว่าเล็กน้อย เพราะว่าบุคคลผู้ฉลาดในการทำบุญ ย่อมเต็มเปี่ยมไปด้วยบุญโดยลำดับ เปรียบเหมือนภาชนะที่เปิดฝา ย่อมเต็มไปด้วยน้ำ ฉะนั้น
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - กลิ่นแห่งความหลุดพ้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสตอบติสสฤๅษีว่า ชนเหล่าใดฆ่าสัตว์ ไม่สำรวมในกามทั้งหลาย มีความเห็นว่า ทานที่บุคคล ให้แล้วไม่มีผล เป็นผู้ประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ให้ นี้ชื่อว่ากลิ่นดิบของชนเหล่านั้น เนื้อ และโภชนะไม่ชื่อว่าเป็นกลิ่นดิบ และสัตว์เหล่าใดขวนขวายในอกุศลกรรม ตายแล้วย่อมเข้าถึงที่มืด มีศีรษะลงตกไปสู่นรก
Some people have compared the Bodhisatta’s renunciation of his life and someone committing a suicide. Please explain how the two are different.