ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ตนได้ ผู้อื่นเสีย ก็ไม่พูด
การได้ประโยชน์เป็นสิ่งสำคัญ แต่มีบางถ้อยคำแม้เราได้ประโยชน์ก็ไม่ควรพูด ถ้อยคำที่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน แม้เราจะได้ประโยชน์ก็ไม่สมควรพูด
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ความดี 4 ประการ
ความดี ๔ ประการ ที่ผู้ครองเรือนพึงมี เมื่อมีขึ้นแล้วจะประสบแต่ความสุข เมื่อเป็นผู้ครองเรือนต้องขยัน ไม่ขยันคนอื่นก็เหยียดหยามได้ ทำกิจของตนเองด้วยความหมั่นเพียร ไม่ปล่อยปละธุระ ขยันหาทรัพย์ รู้จักเก็บ รู้จักใช้ ชีวิตก็ปลอดภัยมีสุข
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : บอกกล่าวเล่าทุกข์
ผู้ใดพอใครถามถึงเรื่องทุกข์ของตน ก็บอกเขาเรื่อยไป ทั้งที่ไม่ใช่กาลอันควร ผู้นั้นจะมีแต่มิตรชนิดเจ้าสำราญ ส่วนผู้หวังดีต่อเขาก็มีแต่ทุกข์
อานิสงส์ถวายดอกบัวและธงชัย
การบูชาบุคคลผู้ควรบูชาเป็นอุดมมงคลสำหรับชีวิต เป็นทางมาแห่งมหากุศลอันยิ่งใหญ่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและเหล่าพระอรหันตสาวกล้วนเป็นบุคคลผู้บังเกิดขึ้น ได้ยากในโลก ...
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ไม่กลัวปรโลก
ธมฺเม ฐิโต ปรโลกํ น ภาเยติ ตั้งอยู่ในธรรมแล้ว ไม่ต้องกลัวปรโลก
ชอบทำผิดทั้งๆที่รู้
คำถาม : ทำไมคนส่วนใหญ่จึงชอบทำผิดทั้ง ๆ ที่รู้ว่าผิด
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๒)
ดูก่อนสารีบุตร เราย่อมกำหนดรู้ใจของบุคคลบางคนในโลกนี้ว่า บุคคลนี้ปฏิบัติอย่างนั้น ดำเนินชีวิตอย่างนั้น และขึ้นสู่หนทางนั้นแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก โดยสมัยต่อมา เราย่อมเห็นบุคคลนั้นหลังจากตายไปแล้ว เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก แล้วเสวยทุกขเวทนาอันแรงกล้าเผ็ดร้อนโดยส่วนเดียว ด้วยธรรมจักขุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ทั้งหลาย
สมปรารถนาได้ด้วยบุญ
ชีวิตถูกชรานำเข้าไปใกล้ความตาย ผู้ที่ถูกชรานำเข้าไปใกล้แล้ว ย่อมต้านทานไว้ไม่ได้ เมื่อบุคคลเล็งเห็นภัยในความตายนี้ ควรทำบุญอันจะนำความสุขมาให้
ทุกข์อย่างยิ่ง สุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์อย่างยิ่ง, บัณฑิตทราบเนื้อความนั่น ตามความจริงแล้ว
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า