ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 2 ชนะพกพรหม)
เพราะว่า สังสารวัฏกำหนดที่สุดของเบื้องต้นท่ามกลางและเบื้องปลายไม่ได้ ก็เหตุเพียงเท่านี้ พอทีเดียวที่เธอจะเบื่อหน่ายในสังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำหนัด เพื่อให้พ้นทุกข์
มงคลที่ ๑๗ สงเคราะห์ญาติ - สังคหวัตถุธรรม
ท่านหัตถกะทูลตอบว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ ได้สงเคราะห์เพื่อนๆ และบริวารมากมายด้วยสังคหวัตถุ ๔ คือ ถ้ารู้ว่าผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยการให้ทาน ข้าพระองค์จะสงเคราะห์ ด้วยการให้ทาน ผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยวาจาที่อ่อนหวาน ข้าพระองค์จะสงเคราะห์ด้วยวาจาที่อ่อนหวาน ผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยการประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์ ข้าพระองค์สงเคราะห์ด้วยการประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์ ผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยการวางตัวให้เหมาะสม ข้าพระองค์ก็จะสงเคราะห์ด้วยการวางตัวให้เหมาะสม พระเจ้าข้า
การอนุโมทนาและมุทิตาจิต
คำว่า “อนุโมทนาบุญ” มีความหมายอย่างไร? การที่เรามุทิตาจิตถือเป็นการอนุโมทนาบุญอย่างหนึ่งหรือไม่? สำหรับคนที่เราไม่ชอบ เราจะวางใจร่วมยินดีกับเขาอย่างไร? การมุทิตาหรืออนุโมทนาบุญมีผลต่อสภาวะใจของเราใช่ไหม?
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_6
ดูก่อนสุเมธบัณฑิต จำเดิมแต่นี้ไปท่านพึงบำเพ็ญสัจจบารมี ให้เต็มเปี่ยม อย่าได้กระทำการพูดเท็จทั้งที่รู้ตัวอยู่ด้วยมุ่งทรัพย์เป็นต้น แม้อสนีบาตจะตกลงบนกระหม่อมของท่านก็ตาม ธรรมดาว่า ดาวประกายพรึกในทุกฤดูกาล ไม่เว้นทางโคจรของตน ไม่โคจรไปในทางอื่น โคจรไปเฉพาะในทางของตนเท่านั้น ฉันใด แม้ท่าน ไม่ละสัจจะ ไม่กระทำการพูดเท็จ ก็จักได้เป็นพระพุทธเจ้า ฉันนั้น
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ฉลาดคิด จิตจึงหลุดพ้น
ท่านจึงรวบรวมจิตให้กลับเข้ามายังฐานที่ตั้งดั้งเดิมของใจ คือ ที่ศูนย์กลางกายของท่าน และพิจารณาความงามนั้นให้แปรผันไปเป็นความไม่งาม โดยเอากระดูกฟันของหญิงนั้น เป็นนิมิต คิดว่าสักวันหนึ่ง ฟันซึ่งมีความขาวเงางามนี้ จะต้องแปรเปลี่ยนไป เสื่อมคลอน และหลุดร่วงออกจากปาก
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - ผู้ก่อบาปกรรม ย่อมแพ้สงครามแห่งชีวิต
นายจุนทะ ผู้เลี้ยงชีพด้วยการขายเนื้อสุกร เขามีชีวิตอยู่กับการฆ่าสุกรมาตลอด ๕๕ ปี ทุกวันหลังจากที่ฆ่าสุกรแล้ว เขาจะแบ่งเนื้อไว้กินกันเองในครอบครัว และนำเนื้อส่วนที่เหลือไปขายเลี้ยงชีพ ตลอดชีวิตที่ผ่านมา เขาไม่เคยประกอบกุศลกรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา แม้พระบรมศาสดาจะประทับอยู่ในวัดเวฬุวัน ซึ่งอยู่ใกล้ๆ บ้าน เขาก็ไม่เคยไปวัด ไม่เคยถวายอาหารแม้เพียงข้าวทัพพีเดียว มีแต่ทำบาปกรรมมาตลอด
อุปกิเลส 16 อย่าง
อุปกิเลส 16 อย่าง กิเลสละเอียดที่ทำให้ใจเศร้าหมอง มีปกติซ่อนอยู่ในใจเหมือนกับสนิมที่ซ่อนตัวในเหล็ก ซึ่งเป็นเหมือนกับลูกหลานบริวาร สังกัดในกิเลส 3 ตระกูล
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มิตรภาพที่ยั่งยืน
พระโพธิสัตว์รู้ว่า นางนกกระเรียนนี้คงน้อยใจและกลัวความผิด จึงปลอบใจโดยตรัสว่า "ผู้ ใดก็ตาม เมื่อผู้อื่นทำกรรมอันชั่วร้ายแก่ตนและตัวเองก็ได้ทำตอบแทนไปแล้ว ก็ย่อมจะรู้สึกว่าเราทำตอบแทนแล้ว ขอให้เวรนั้นสงบลงด้วยอาการเพียงเท่านี้เถิด ท่านจงอยู่ในเมืองนี้ต่อไปเถิด อย่าไปเลย"
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
วันนี้เป็นวันที่ห้าของการเข้าพรรษา : เครื่องมือของพระกับมาร
วันนี้วันที่ 5 ของการเข้าพรรษา 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 จากหนังสือบางสิ่งที่แสวงหาโดย พระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย)..