หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒)
ขอนำเสนอเนื้อหาสาระการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตั้งแต่ครั้งพุทธกาลในชมพูทวีปซึ่งการเผยแผ่ถูกจำกัดด้วยภูมิประเทศและความสามารถในการเดินทาง เรื่อยมาถึงยุคประวัติศาสตร์ที่มากด้วยเรื่องราวความเป็นไปในแต่ละท้องถิ่นของดินแดนต่าง ๆ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑)
การบังเกิดขึ้นของดวงอาทิตย์ย่อมขจัดความมืดมิดให้หมดสิ้นไปได้ฉันใด การบังเกิดของเอกบุรุษ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าย่อมยังประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่มวลมนุษยชาติ ในอันที่จะขจัดมลทิน คือ ความมืดบอดในใจให้หมดสนิ้ ไปได้ฉันนั้น เพราะความรู้อันบริสุทธิ์ที่เกิดจากการประพฤติธรรมตามคำสั่งสอนของพระองค์จะนำพาให้มวลมนุษย์มีดวงปัญญาบริสุทธิ์ ดำเนินชีวิตไม่ผิดพลาด และอยู่รอดปลอดภัยอย่างผู้มีชัยชนะในวัฏสงสาร
พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ยุคทองแห่งต้นกรุงรัตนโกสินทร์
แผ่นดินที่ ๓ ของกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทยในราชวงศ์จักรีถือเป็นยุคทองแห่งต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยของพระองค์พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเป็นอันมาก เนื่องด้วยทรงมีพระราชศรัทธาอย่างมั่นคงในพระพุทธศาสนาทรงรักษาศีล บำเพ็ญทาน บำรุงคณะสงฆ์ สร้างและปฏิสังขรณ์พระอารามไว้เป็นจำนวนมาก
ทึ่ง !! เณรน้อย 8 ขวบ ท่องบท ‘ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร’ ได้
สามเณรน้อยวัยแค่ 8 ขวบที่ จ.ตรัง สามารถท่องบทธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ความยาวร่วม 20 นาที ได้อย่างคล่องแคล่ว เผยท่องพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ได้ตั้งแต่ 5 ขวบ ท่องแล้วมีสมาธิดีจนสอบได้ที่ 1 บอกจะบวชเรียนอยู่ในพระพุทธศาสนาต่อไป...
กากะเยีย ขั้นกะเยีย...ผสานศิลป์ถิ่นอีสาน
ช่วงพุทธศตวรรษที่ 19-22 ดินแดนลุ่มแม่น้ำโขงแถบประเทศลาว ตลอดจนภาคอีสานของไทยเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านช้างที่มีความรุ่งเรืองด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และศิลปวัฒนธรรมโดยเฉพาะรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่งล้านช้างเป็นยุคที่มีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับอาณาจักรล้านนา จึงได้น้อมรับเอาอิทธิพลทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมการจารคัมภีร์ใบลานด้วยอักษรธรรมตามแบบฉบับล้านนามาพัฒนาจนเป็นอักษรธรรมอีสานหรืออักษรธรรมลาวเพื่อใช้จารจารึกคัมภีร์ในอาณาจักรล้านช้าง
แลใบลาน ก่อนกาลล่วงเลย
สรรพสิ่งย่อมเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา บางสิ่งที่เคยมีคุณค่า ณ ช่วงเวลาหนึ่ง แต่ทว่าเมื่อเวลาผ่านไปมีสิ่งใหม่เข้ามาแทนที่ ของเดิมที่เคยมีคุณค่าก็อาจกลายเป็นเพียงความทรงจำในอดีต ทั้งที่ความจริงแล้วคุณค่าและความสำคัญของสิ่งนั้นไม่ได้ลดลงเลย เพียงแต่ถูกบดบังจนทำให้คุณค่าภายในที่แท้จริงถูกมองข้ามไปอย่างน่าเสียดายคัมภีร์ใบลานแม้ศักดิ์สิทธิ์สูงค่าก็ไม่อาจพ้นจากสภาวธรรมนี้ไปได้
รักษ์ศาสน์ วาดศิลป์ แผ่นดินสยาม
บรรพชนชาวสยามน้อมรับเอาพระพุทธศาสนามานับถือและรักษาไว้ ไม่ว่าจะเปลี่ยนผ่าน มากี่ยุคสมัย ผ่านมากี่แผ่นดิน อาณาประชาราษฎร์ล้วนอยู่ร่วมกันอย่างร่มเย็นเป็นสุขภายใต้ พระบรมโพธิสมภารแห่งพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงเป็น “ธรรมราชา” องค์เอกอัครศาสนูปถัมภก ปกครองแผ่นดินโดยธรรมตามหลักพระธรรมคำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระไตรปิฎกฉบับธรรมชัย...ก้าวไกลสู่เวทีโลก
พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ สืบทอดผ่านการสวดทรงจำโดยเหล่าพุทธสาวก และจารจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกลงในคัมภีร์ใบลาน เมื่อครั้งกระทำสังคายนา ครั้งที่ 5 ราว ๆ ปี พ.ศ. 400 เศษ ณ อาโลกเลณสถาน ประเทศศรีลังกา