ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย ตอนที่ 2
นอกจากธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ในพระไตรปิฎกบาลียังกล่าวถึงธรรมกายของพระพุทธสาวกด้วยดังที่ปรากฏในมหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน อันเป็นถ้อยคำที่พระมหาปชาบดีโคตมีเถรีกราบทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพื่อเสด็จปรินิพพาน
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....
อานุภาพหลวงปู่ ตอน ชื่อรอด..แต่ไม่รอด
นายรอดที่ลอบยิงหลวงปู่ก็ติดคุกอยู่นานจนกระทั่งถึงกำหนดวันที่นายรอดจะต้องออกจากคุก ซึ่งหลวงปู่ท่านได้เห็นในที่ และทักขึ้นว่า วันนี้นายรอดออกจากคุก แต่จะไม่รอด ซึ่งก็จริง ๆ
กรณีศึกษา คุณพ่อตายแล้วไปเป็นภุมมเทวา ตอนที่ 18
พระราชาทรงรับสั่งให้นายทหารหนุ่มรีบส่งข่าวกลับไปถึงนายทหารหน่วย ฉ.ก.เฉพาะกิจพิเศษท่านนั้นเป็นการด่วนว่า ขอให้นายทหารท่านนั้น ทำการคัดลอกภาพแกะสลักบนผนังถ้ำแห่งนั้น
กรณีศึกษา คุณพ่อตายแล้วไปเป็นภุมมเทวา ตอนที่ 16
พระราชาปรารถนาจะทำให้โลกในยุคนั้น เต็มไปด้วยคนดีมีศีลธรรม โดยปราศจากคนภัยคนพาลและโจรผู้ร้ายทั้งหลาย เป็นต้น เพื่อที่ทุกคนในโลกจะได้ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก
กระแสแห่งกรรม (๑)
ผู้ใดเมื่อถูกกล่าวสอนอยู่ ไม่ทำตามคำสอนของผู้ปรารถนาประโยชน์ ผู้อนุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกื้อกูล ผู้นั้นย่อมเศร้าโศก เหมือนมิตตพินทุกะจับเท้าแพะเศร้าโศกอยู่ฉะนั้น
วิชชาธรรมกาย ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกายของพระพุทธองค์
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกายของพระพุทธองค์ เมื่อ “ธรรมกาย” เกิดขึ้น วัดปากน้ำได้นับคำวิพากษ์วิจารณ์กันมาก บางพวกก็ปลื้มใจ บางพวกก็หนักใจ บางพวกก็ตั้งข้อกล่าวหาลงโทษวัดปากน้ำอย่างหนัก ถึงกับพูดว่า อวดอุตริมนุสธรรมก็มี ข่าวนี้มิใช่ท่านจะไม่รู้ ท่านได้ยินเสมอๆ แต่เสียงนั้นก็ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนใจแก่ท่านแม้แต่เล็กน้อย ท่านกลับภูมิใจเสียอีกที่ได้ยินคำนั้น
ความสุขของพระโสดาบัน
ความทุกข์ที่หมดไปของอริยสาวกผู้สมบูรณ์ด้วยสัมมาทิฏฐิ บรรลุอริยมรรคแล้ว มีปริมาณมาก ส่วนความทุกข์ที่ยังเหลืออยู่ มีประมาณน้อย ความทุกข์ที่จะมีอีก ๗ อัตภาพเป็นอย่างยิ่งนั้น เมื่อเทียบกันเข้ากับกองทุกข์ที่หมดสิ้นไปอันมีอยู่ในครั้งก่อนแล้ว ย่อมไม่เข้าถึงเสี้ยวที่ ๑๐๐ ไม่เข้าถึงเสี้ยวที่ ๑,๐๐๐ ไม่เข้าถึงเสี้ยวที่ ๑๐๐,๐๐๐ เลย ภิกษุทั้งหลาย การได้บรรลุอริยธรรม ย่อมให้สำเร็จประโยชน์ใหญ่อย่างนี้แล การได้ธรรมจักษุ ย่อมให้สำเร็จประโยชน์ใหญ่อย่างนี้
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
อาจิณณกรรม
ภัยของสัตว์ผู้เกิดมาแล้ว ย่อมมีเพราะต้องตายแน่นอน เหมือนภัยของผลไม้สุก ย่อมมีเพราะต้องหล่นในยามเช้าฉะนั้น