วิบากกรรมผู้สนับสนุนน้ำเมาเข้าตลาดหลักทรัพย์
ผู้สนับสนุนให้น้ำเมาเข้าตลาดหลักทรัพย์โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จะทำให้มีวิบากกรรมในปัจจุบันชาตินี้ ในปรโลก และภพชาติต่อๆ ไปอย่างไร
โทษของการเห็นผิด
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่พิจารณาเห็นธรรมสักอย่างหนึ่ง ที่มีโทษมากเหมือนอย่างมิจฉาทิฎฐิเลย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โทษทั้งหลายมีมิจฉาทิฎฐิเป็นอย่างยิ่ง
นรก-สวรรค์
บุคคลบางคนในโลกนี้ ประพฤติทุจริตด้วยกาย... ด้วยวาจา ... ด้วยใจ บุคคลนั้นครั้นประพฤติทุจริตด้วยกาย... ด้วยวาจา... ด้วยใจแล้ว เพราะกายแตก ตายไปย่อมเข้าถึงอุบาย ทุคติ วินิบาต นรก นิรยบาลทั้งหลาย ต่างก็จับบุคคลนั้นที่แขนไปแสดงแก่พญายมว่า
ฆ่าสัตว์ใหญ่กับฆ่าสัตว์เล็ก
คำถาม : การฆ่าสัตว์ใหญ่บาปมาก ฆ่าสัตว์เล็กบาปน้อย ทำไมจึงเป็นเช่นนั้นครับ ในเมื่อก็เป็นชีวิตเหมือนกัน
คนที่เคยเป็นคนไม่ดีมาก่อนจะมีโอกาสบรรลุธรรมได้หรือไม่
พระองคุลิมาล ก่อนบวชท่านฆ่าคนมาเป็นพัน แต่เมื่อมาคิดได้ ท่านก็เลิกทันที ไม่ยินดีกับมันอีกแล้ว เพียรพยายามปฏิบัติธรรมเดินหน้าอย่างเดียว แล้วก็ได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์องค์หนึ่ง
ผู้ที่ผิดศีลข้อที่ ๑ อยู่เป็นประจำสามารถเข้าถึงพระธรรมกายได้หรือไม่
ศีลไม่ว่าข้อใด ถ้าผิดเป็นประจำ ก็ยากที่จะเข้าถึงธรรมกายในตัวได้ แม้ผิดเพียงข้อเดียวเป็นประจำ เช่น ฆ่าสัตว์ทุกวัน ก็ไม่มีทางเข้าถึงธรรมกาย
พกชาดก-ชาดกว่าด้วยบาปกรรมของผู้ฉลาดแกมโกง
พระเชตะวันมหาวิหาร ณ เวลาในพุทธกาลสมัยหนึ่งยังมีพระภิกษุผู้มีศิลปะในการตัดเย็บ ย้อมสี ปะ ชุนจีวร ฝีมือดีจนเป็นที่ยอมรับในหมู่สงฆ์ ภิกษุรูปนี้ชาญฉลาดในการทำจีวรให้งาม ภิกษุสงฆ์ทั้งหลายพากันขนานนามตามความหมายนั้นว่า พระจีวรวัฒฑกะ
เปรตหญิงสาวผู้หิวโหย
ในเปรตวิสัยนั้น ไม่มีกสิกรรม การเลี้ยงโคในเปรตวิสัยก็ไม่มี การค้าขายหรือการซื้อขายด้วยเงินก็ไม่มี สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงกาลล่วงสิ้นไปแล้ว ย่อมยังอัตภาพให้เป็นไปในเปรตวิสัยนั้น ด้วยทานอันเขาให้แล้วในมนุษยโลก
กรรมของคนโกงที่ธรณีสงฆ์
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าเป็นเปรตเข้าถึงทุคติ เพราะได้ทำบาปกรรมเอาไว้ จึงจากมนุษยโลกนี้ไปสู่เปตโลก
สภาพของเปรตแต่ละชนิด
เปรตชิ้นเนื้อ ครั้งหนึ่ง พระมหาโมคคัลลานเถระได้เห็นชิ้นเนื้อลอยอยู่ในอากาศ พวกแร้งบ้าง นกตะกรุมบ้าง ต่างพากันโผถลาตามจิกทึ้งชิ้นเนื้อนั้น และชิ้นเนื้อนั้นก็ส่งเสียงร้องครวญครางอย่างน่าสงสาร จึงคิดว่าน่าอัศจรรย์เป็นนักหนา ต่อมาได้กราบทูลให้พระพุทธองค์ทรงทราบ ซึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเล่าประวัติของเปรตตนนี้ว่า