มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ชนะโทสะ ด้วยอโทสะ
เมื่อธรรมเทพบุตร เห็นอธรรมเทพบุตรไม่ให้หนทางแน่แล้ว จึงกล่าวว่า ถ้า หากท่านเป็นผู้กระหายในสงคราม ชอบใจในการล้างผลาญ แม้ผู้หลักผู้ใหญ่และครูของท่านที่จะคอย ตักเตือนท่านก็ไม่มี เราธรรมเทพบุตรก็จะขอยอมเป็นผู้ให้หนทางแก่ท่านเอง เราจะไม่ขุ่นมัว แต่จะทำใจให้เปี่ยมไปด้วยความรักและปรารถนาดี
ถึงจะท่องจำตำราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม
ถึงจะท่องจำตำราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม ละราคะ โทสะ และโมหะได้ รู้แจ้งเห็นจริง มีจิตหลุดพ้น
การกำจัดกิเลสด้วยบุญ
บุญจากการทำทาน รักษาศีล เจริญภาวนา จะไปกำจัดกิเลส 3 ตระกูลคือโลภะ โทสะ โมหะ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ทรัพย์สมบัติ รูปสมบัติ และคุณสมบัติเสื่อมลง
ประพฤติชอบธรรม
ถึงจะท่องจำตำราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม ละราคะ โทสะ และโมหะได้ รู้แจ้งเห็นจริง มีจิตหลุดพ้น ไม่ยึดมั่น ถือมั่น ทั้งปัจจุบันและอนาคต เขาย่อมได้รับผลที่พึงได้จากการบวช
อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน
กิเลส เพื่อนซี้ที่ไม่รู้จัก
กิเลส เป็นศัพท์เฉพาะ มีอยู่ในพระไตรปิฎกเท่านั้น ผู้ที่เห็นกิเลสเป็นท่านแรก คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
กิเลส 3 ตระกูล
กิเลสที่มีอยู่ในใจของมนุษย์ มีอยู่ 3 ตระกูลใหญ่ กิเลสตระกูลที่ 3 เรียกว่า โมหะ เป็นโรคร้ายฝังอยู่ในใจที่คอยบีบคั้นให้มนุษย์คิดชั่ว พูดชั่ว ทำชั่ว แล้วผลของความชั่วทำไว้ก็ไม่หายไปไหน มันได้กลายเป็นมารร้ายย้อนกลับมา ตามจองล้างจองผลาญเราข้ามภพข้ามชาติ
อย่าวิจารณ์นายจ้าง ถ้าทำงานกับเขาแล้วไม่มีความสุข ก็ลาออกซะ
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
บทความธรรมะ เรื่อง จะโกรธเขาดีหรือไม่โกรธดี
ความโกรธ คือ อะไร หากเรารู้สึกโกรธใครขึ้นมา เราควรทำอย่างไร เราจะมีวิธีระงับความโกรธได้หรือไม่ เชิญอ่านบทความธรรมะเรื่องความโกรธได้ที่นี่ค่ะ...
การใส่บาตร ถ้าไม่ได้อธิษฐาน เพราะถือว่าใส่บาตรไม่ได้หวังผล จะได้บุญหรือไม่
เวลาใส่บาตรแล้วจะอธิษฐาน หรือไม่อธิษฐานก็ได้บุญอยู่แล้ว แต่ที่โบราณท่านสอนให้เราอธิษฐานกันนั้น เป็นการตั้งเจตนาแน่วแน่ลงไป คนที่ทำอย่างนี้เมื่อถึงคราวบุญสงผล จะได้ผลตรงตามที่เราปรารถนา