ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะสัจจก-นิครนถ์)
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว เป็นสิ่งที่มีค่าเอนกอนันต์ ทุกถ้อยคำที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำสั่งสอน ชี้แนะหนทางสว่าง
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๒ ชนะพกาพรหม)
การปฏิบัติธรรมที่จะให้ได้ผลดี ต้องรักษาใจให้สงบเยือกเย็น มีเมตตาจิตในสรรพสัตว์ทั้งหลาย ให้มีอารมณ์ดี อารมณ์สบายตลอดเวลา
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ความทุกข์เป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทุกชีวิตต่างปรารถนาความสุข แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย
ชัยชนะครั้งที่ ๔ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะองคุลิมาล)
เวลาแห่งการปฏิบัติธรรม เป็นเวลาที่มีคุณค่ามหาศาล เพราะเราจะได้ทำใจหยุดใจนิ่ง แสวงหาอริยมรรค ซึ่งเป็นเส้นทางของพระอริยเจ้าทั้งหลาย เป็นทาง
สัมมา อะระหัง กับความหมายของคำภาวนา
ความหมายของคำว่า.. “สัมมา อะระหัง” คำว่า “สัมมา อะระหัง” เป็นภาษาบาลี มีศัพท์ควบคู่กันอยู่ 2 ศัพท์ คือ “สัมมา” และ “อะระหัง
สัมมา อะระหัง ตอน ระงับเจ็บจากการผ่าตัดปอด
“จนกระทั่งวันหนึ่งพระอาจารย์มาเปิดเรื่องของคุณหมอ ‘สัมมา อะระหัง’ 500 ครั้ง ในขณะที่ฟังบรรยายธรรมของพระอาจารย์ไป ก็ตรึกเข้ากลางไป ‘สัมมา อะระหัง หนึ่ง’ ‘สัมมา อะระหัง สอง’ จนถึง ‘สัมมา อะระหัง หนึ่งร้อยแปด’ นิ่งมากเลยค่ะ เสียงของพระอาจารย์ท่านเข้าไปในกลางตลอดแล้วไม่ปวดแผล เหมือนกับเราไม่ได้เป็นอะไรเลย
สัมมา อะระหัง ความหมายของคำว่า “สัมมา อะระหัง”
พระโบราณาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า "สัมมา อะระหัง เป้นพุทธานุสสติ มีประโยชน์ในการเจริญภาวนากัมมัฏฐานมาก"
พลิกชีวิตเพราะคำว่า “สัมมา อะระหัง”
เชื่อไหมคะ ตอนที่ยังไม่ “สัมมา อะระหัง” ดิฉันต้องดื่มน้ำสมุนไพรทุกวัน ร่างกายถึงจะอยู่ได้ แต่พอพระอาจารย์บอกให้ “สัมมา อะระหัง” วันแรก พอความดันขึ้นดิฉันก็ “สัมมาอะระหัง ๆ ๆ อย่าขึ้น” “สัมมา อะระหัง ลงไป ๆ” จนกระทั่งจากที่รู้สึกเหนื่อยมากวันละหลายรอบ พอ “สัมมา อะระหัง”ผ่านไปหนึ่งเดือน อาการที่เป็นทุกวัน วันละหลาย ๆ รอบไม่เป็นอีกเลย