มหาปวารณา
วันมหาปวารณา คือ วันที่พระภิกษุทุกรูป จะต้องมาปวารณาซึ่งกันและกันว่า ถ้าใครเห็น ได้ยิน หรือสงสัยว่า ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งประพฤติไม่ถูกต้องตามพระธรรมวินัยนี้ ก็จะตักเตือนเป็นกัลยาณมิตรให้ซึ่งกันและกัน เหมือนกับไปช่วยชี้ขุมทรัพย์ให้ เพื่อจะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง
ยมโลก สถานที่พิจารณาบุญและบาป
นรชนเหล่าใดเมื่อยังเป็นมนุษย์อยู่ ถูกเทวทูตตักเตือนแล้วยังประมาทอยู่ นรชนเหล่านั้นจะเข้าถึงหมู่สัตว์อันเลวทราม ย่อมเศร้าโศกสิ้นกาลนาน
ความหลากหลายของเปรต (๒)
ชนเหล่าใดยังเป็นมาณพ อันเทวทูตตักเตือนแล้วประมาทอยู่ นรชนเหล่านั้นจะเข้าถึงหมู่สัตว์เลว เศร้าโศกสิ้นกาลนาน ส่วนนรชนเหล่าใด เป็นสัตบุรุษผู้สงบระงับในโลกนี้ อันเทวทูตตักเตือนแล้ว ย่อมไม่ประมาทในธรรมของพระอริยะ ในกาลไหนๆ เห็นภัยในความถือมั่นอันเป็นเหตุแห่งชาติและมรณะแล้ว ไม่ถือมั่น หลุดพ้นในธรรมเป็นที่สิ้นชาติและมรณะได้ นรชนเหล่านั้นเป็นผู้ถึงความเกษม มีสุข ดับสนิทในปัจจุบัน ล่วงเวรและภัยทั้งปวงและเข้าไปล่วงทุกข์ทั้งปวงได้
เวฬุกะชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของการเป็นผู้ว่ายากสอนยาก
ครั้งอดีตกาล ณ พระเชตะวัน มหาวิหารอันสำคัญยิ่งในพระพุทธศาสนาได้เกิดเรื่องราวมิงามของภิกษุผู้ว่ายากอยู่ท่านหนึ่ง ไม่ว่าใครจะว่ากล่าวตักเตือนอย่างไรก็ตามท่านก็มิเคยฟัง สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีพระกรุณาธิคุณให้ภิกษุรูปหนึ่งเข้าเฝ้า เพื่อปลดโทษให้
สำนักพระพุทธศาสนาฯ เผย ให้อภัย แม่ชีแก้กรรม
ผอ.สำนักพระพุทธศาสนาฯ เผย ให้อภัย แม่ชีแก้กรรม แม่ชีทศพร หลังพระพรหมโมรี ตักเตือนซึ่งเจ้าตัวยอมรับผิดและขอโทษแล้วนายนพรัตน์ เบญจวัฒนานันท์ ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กล่าวกับสำนักข่าว ไอ.เอ็น.เอ็น.
ปัญจาวุธกุมาร-ชาดกว่าด้วยการทำความเพียร
ขณะเมื่อพระพุทธศาสดาประทับในมหาวิหารทรงแจ้งในพระญาณว่า ยังมีภิกษุเกียจคร้านอาศัยครองเพศสมณะไปวัน ๆ ทรงตักเตือนด้วยพุทธโอวาทว่า “ดูก่อนภิกษุ แม้ในกาลก่อนบัณฑิตทั้งหลายกระทำความเพียร ในที่ที่ควรประกอบความเพียร ก็ยังบรรลุถึงราชสมบัติได้” ทรงระลึกชาติของพระองค์ด้วยชาดกเรื่องหนึ่งส่งเสริมพุทธโอวาทเกี่ยวกับความเพียรนั้น
โรคเกี่ยวกับหูและการได้ยิน-หมวดโรคภัยไข้เจ็บ
โรคเกี่ยวกับหูและการได้ยิน เกิดจากกรรมที่ชอบทำหูทวนลมเวลาพ่อแม่สอน ผู้ใหญ่ตักเตือน เรียกใช้ สั่งสอน และการที่ ชอบทำร้าย แกล้งคน/สัตว์ที่หู
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - ทางมาแห่งคุณธรรม
เพราะฉะนั้น เวลามีใครมาชี้โทษตักเตือนเรา ก็อย่าได้ขุ่นมัว ถ้าเราพิจารณาดูแล้วพบว่า เราผิดจริงก็แก้ไขปรับปรุงเสีย ถ้าไม่ผิดก็รับฟังด้วยความเคารพ แล้วค่อยๆ ปรับความเข้าใจในภายหลัง ให้คิดว่าผู้ที่คอยชี้โทษหรือบอกข้อบกพร่องให้เรานั้น เป็นผู้มาชี้บอกขุมทรัพย์ให้แก่เรา เราจะได้ตั้งใจฝึกฝนอบรมตนเองให้ยิ่งๆขึ้นไป
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ชนะโทสะ ด้วยอโทสะ
เมื่อธรรมเทพบุตร เห็นอธรรมเทพบุตรไม่ให้หนทางแน่แล้ว จึงกล่าวว่า ถ้า หากท่านเป็นผู้กระหายในสงคราม ชอบใจในการล้างผลาญ แม้ผู้หลักผู้ใหญ่และครูของท่านที่จะคอย ตักเตือนท่านก็ไม่มี เราธรรมเทพบุตรก็จะขอยอมเป็นผู้ให้หนทางแก่ท่านเอง เราจะไม่ขุ่นมัว แต่จะทำใจให้เปี่ยมไปด้วยความรักและปรารถนาดี
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - โทษที่ไม่มีโทษ
การที่เราจะเป็นผู้ปกครองที่ดี จะต้องรู้จักสอนคนในปกครองให้เป็นคนดี ให้เขาโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ ที่มีคุณภาพ คือให้มีความรู้คู่คุณธรรม ครูบาอาจารย์ที่ดีก็เช่นกัน ต้องหมั่นตักเตือนสั่งสอนให้ศิษย์เป็นคนดี คอยประคับประคองให้ลูกศิษย์ดำเนินไปในเส้นทางที่ถูกต้อง ถูกทำนองคลองธรรม โดยไม่กลัวภัยที่จะเกิดขึ้นกับตน