พิธีมอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาภาษาไทย แด่พระพรหมวชิรญาณ กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดยานนาวา
ว.วชิรเมธีผู้ติดปีกให้ธรรม
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - สอนตน สอนคนให้ถึงธรรม
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมด้วยอาการ ๓ อย่างด้วยกัน คือ ประการแรก ทรงสอนให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในสิ่งที่ควรรู้ควรเห็น ประการที่สอง ทรงแสดงธรรมมีเหตุที่ผู้ฟังจะสามารถตรองตามให้เห็นจริงตามที่พระองค์ทรง แสดงได้ และประการสุดท้าย ทรงแสดงธรรมเป็นอัศจรรย์ คือ ผู้ปฏิบัติตามธรรมนั้นจะได้รับประโยชน์ตามสมควรแก่การปฏิบัติ
ความในใจของพระครูสุมณฑ์ธรรมวงศ์
การที่หลวงพ่อมีวิสัยทัศน์ที่จะรวมสงฆ์จากทั่วโลก แล้วร่วมมือกันในการขยายพระพุทธศาสนาไปทั่วโลก เป็นสิ่งที่ยอดเยี่ยมมาก เพราะชาวพุทธจะต้องสามัคคีกัน ปัจจุบันต้องยอมรับว่า การตื่นตัวของชาวพุทธและความหวงแหนในพระพุทธศาสนามีน้อย เพราะเราขาดการศึกษาสิ่งดีๆที่เรามีอยู่อย่างจริงจัง บางครั้งเรากลับเห็นคุณค่าของศาสนาเราเอง ด้วยการเรียนรู้มาจากเพื่อนต่างศาสนา
โครงการอบรมมัชฌิมธรรมทายาทหญิง รุ่นที่ 21
โครงการอบรมมัชฌิมธรรมทายาทหญิง รุ่นที่ 21 อบรมระหว่างวันที่ 13 เมษายน – 4 พฤษภาคม พ.ศ.2557 สอบถามรายละเอียดได้ที่ กองสนับสนุนอาสาสมัคร สำนักศรัทธาภิบาล โทร.081-454-0680 และ 083-540-5780
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย
คำว่า ธรรมกาย เป็นศัพท์สมาส ที่อาจแปลเป็นคำคุณศัพท์ว่า ผู้มีธรรมเป็นกาย หรืออาจแปลเป็นคำนามก็ได้ว่า กายแห่งธรรม กายคือธรรมหรือ กายที่ประกอบด้วยธรรม
เหตุการณ์สำคัญในวันตั้งมโนปณิธานว่าจะบวชตลอดชีวิต
ย้อนไป ๑๑๒ ปี มีเด็กหนุ่มวัย ๑๙ ปี ซึ่งต่อมา คือ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กำลังทำหน้าที่เป็นพ่อค้าข้าวแทนบิดาที่เสียไปตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี และได้เป็นหัวแรงสำคัญของครอบครัว ได้ตั้งจิตอธิษฐานขอบวชตลอดชีวิตทำให้เป็นจุดหักเหให้ท่านเลือกเส้นทางเดินชีวิตที่ต่างจากคนทั่วไป
ตู้ปันสุข ขนไปหมดตู้ ผู้ให้ควรคิดอย่างไร
ตู้ปันสุข ขนไปหมดตู้ เมื่อเจอเหตุการณ์อย่างนี้ ผู้ให้ควรคิดอย่างไร หรือวางใจอย่างไร
ดินแดนสุขาวดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
พระโปฐิลเถระ
การเรียนนิกายหนึ่งก็ดี สองนิกายก็ดี จบพุทธวจนะคือพระไตรปิฎกก็ดี ตามสมควรแก่ปัญญาของตนแล้วทรงไว้ กล่าวบอกพุทธวจนะนั้น ชื่อว่า การศึกษาคันถธุระ ส่วนการเริ่มตั้งความสิ้นไป และความเสื่อมไปในอัตภาพ เจริญวิปัสสนาด้วยอำนาจความเพียรพยายามแล้ว บรรลุพระอรหัต ชื่อว่า วิปัสสนาธุระ