ธรรมกาย กายมาตรฐาน
สรีรยนต์นี้ ถูกกรรมปรุงแต่งทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และมักขะ
ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย
หลวงพ่อธัมมชโย มีนาม เดิมว่า ไชยบูลย์ สุทธิผล ถือกำเนิดเมื่อวันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ.2487 ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก เวลา 18.00 น. ณ บ้านริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต.บ้านแป้ง อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ท่านเป็นบุตรของนายช่างใหญ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม นามว่าจรรยงค์ สุทธิผล กับคุณแม่จุรี สุทธิผล
พี่ชายที่แสนสามดี
พี่ชายคนที่ 4 ที่แสนดีของลูกคนที่เป็นกัลยาณมิตรชวนลูกเข้าวัดนั้น ยังได้เป็นกัลยาณมิตรให้ลูกสาวของลูกอีกด้วย และยังได้นำลูกแก้วมาให้หลานเพื่อเอาไว้ให้ตรึกก่อนนั่งสมาธิ พอลูกสาวของลูกดีใจมากรับลูกแก้วไว้ในมือแล้วก็พูดขึ้นว่า “หม่าม้า...นี่คืออาณาจักรของหนู”
ทุกข์ในอัตภาพสัตว์เดรัจฉานและมนุษย์
ขั้นตอนการชดใช้กรรมของผู้ผิดศีลกาเมฯ ตอน ทุกข์ในอัตภาพสัตว์เดรัจฉานและมนุษย์ ความเดิมจากตอนที่แล้ว เมื่อวิบากกรรมเบาบางจากเปรต อสุรกาย ก็มาต่อด้วยการเป็นสัตว์เดรัจฉาน เริ่มต้นจากสัตว์ชั้นต่ำ
Pure In Body, Speech, And Mind บริสุทธิ์กาย วาจา ใจ
บริสุทธิ์กาย วาจา ใจ คุณยายสอนให้อธิษฐานว่า ขอให้ข้าพเจ้าเป็นผู้บริสุทธิ์กาย วาจา ใจ ให้เป็นผู้มีบุญมาก ๆ มีบุญสอนตัวเองได้ สอนให้ทำแต่ความดี ต้องสอนตัวเองได้ทีเดียว จึงจะดี
บทความภาษาอังกฤษเรื่อง Hurry On รีบโกย รีบพาย
“ยังหนุ่มยังแน่น รีบโกย รีบพาย ตลาดจะวาย สายบัวจะเน่า” เราต้องรีบโกย รีบพายนะ ใครจะพร่องก็ช่างเขา แต่สำหรับเราเองต้องให้สมบูรณ์
บรรพชาสามเณรหนึ่งล้าน คือ สิ่งอัศจรรย์ของโลก
ชีวิตของเราชีวิตหนึ่ง น่าจะได้ทำสิ่งอัศจรรย์ที่เราจะปลาบปลื้มไปได้ตลอดทั้งชีวิต และสิ่งที่จะเป็นความปลื้มที่ว่านี้ ก็คือการบรรพชาสามเณร 1,000,000 รูป ที่ไม่เคยบังเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์อันยาวนาน..
ศีล..สะพานข้ามสู่เทวโลก
“สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ ศีลเป็นสะพานข้ามฟากอันมีพลังมาก ศีลมีกลิ่นหอมอันยอดเยี่ยม ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐ บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมหอมฟุ้งไปทั่วสารทิศ” (ขุ.เถร.)
สามเณรอุปสมบทอุทิศชีวิต วันวิสาขบูชา พุทธศักราช 2557
บวชอุทิศชีวิต การอุปสมบทอุทิศชีวิตของสามเณรเปรียญธรรมวัดพระธรรมกาย
บวชอุทิศชีวิต หรือบวชตลอดชีวิต หรือที่ทั่วๆ ไปชอบเรียกว่าบวชไม่สึก อะไรเป็นเหตุแห่งความปรารถอันแรงกล้าของสามเณรที่ทำให้ตัดสินใจบวชอุทิศชีวิตในพระพุทธศาสนา ทำไมคนบวชที่วัดพระธรรมกายมักจะบวชไม่สึก เรามาติดตามรายละเอียดและอนุโมทนาบุญร่วมกันนะคะ . . .