พระมหากัสสปเถระ (๒)
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อข้าพระองค์ถวายทานอยู่ตลอด ๗ วัน เข้าไปตั้งเมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรมอันใด ด้วยกรรมอันนี้ ข้าพระองค์ไม่ปรารถนาสมบัติอย่างอื่น ไม่ได้ปรารถนาสมบัติของท้าวสักกะจอมเทพ มารสมบัติ และพรหมสมบัติ ก็กรรมของข้าพระองค์นี้ จงเป็นไปเพื่อความเป็นเลิศแห่งภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงธุดงค์คุณ ๑๓ ด้วยเถิด
ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย ตอน รู้เป้าหมายชีวิต
ในวันแรกพบนั้นเอง ท่านรู้สึกได้ทันทีว่า ได้พบครูบาอาจารย์ที่แสวงหามาแสนนาน จึงขอฝากตัวเป็นศิษย์ของท่านด้วยความมั่นใจอย่างเต็มเปี่ยม ซึ่งคุณยายอาจารย์ ได้ทักท่านราวกับรู้เหตุการณ์ล่วงหน้าว่า “คุณน่ะ หลวงพ่อวัดปากน้ำให้ยายไปตามมาเกิดในสมัยสงครามโลก”
วัดพระธรรมกายดีซีจัดงานบุญวันอาทิตย์
วัดพระธรรมกายดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดงานบุญวันอาทิตย์ และพิธีถวายคิลานเภสัช
ถึงพระรัตนตรัยได้ไปสวรรค์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้น พระวิปัสสีพุทธเจ้าผู้เสด็จหลีกออกเร้นอยู่ในที่ลับ ได้ทรงพระปริวิตกเช่นนี้ว่า โลกนี้ถึงความยาก ย่อมเกิด แก่ ตาย และเวียนตายเวียนเกิดไม่รู้จบ ก็บุคคลไม่รู้ชัดถึงอุบายเครื่องพ้นทุกข์ คือ ชราและมรณะ การพ้นทุกข์ คือชราและมรณะนี้ จักปรากฏแต่เมื่อไร
กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสถึงสิ่งที่เกิดขึ้นได้ยาก ๔ ประการ คือ “การได้เกิดมาเป็นมนุษย์ก็นับว่ายาก การดำรงชีวิตอยู่ของเหล่าสัตว์ก็นับว่ายาก การที่จะได้ฟังสัทธรรมก็นับว่ายาก การที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายจะเสด็จอุบัติขึ้นก็ยิ่งยาก”
Case Study โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ (โยมพ่อเกษมศักดิ์) ตอนที่ 3 (ตอนจบ)
สำหรับในค่ำคืนนี้...ก็ได้มีสารแห่งความรักความคิดถึงจากท่านเทพบุตรใหม่มาถึงตัวลูกและทุกๆ คนในครอบครัวของท่านในทำนองที่ว่า .....
อานุภาพหล่อทองหลวง ตอน “หลวงปู่ทองคำ !!! เมตตามาเยี่ยม”
ลูกและครอบครัวสร้างบารมีกับหมู่คณะครั้งแรก ในงานทอดกฐินสร้างอาคาร60ปี พระราชภาวนาวิสุทธิ์ ปีพ.ศ.2546 ที่วัดพระธรรมกายโตเกียวค่ะ ครอบครัวเราเป็นครอบครัวธรรมกายเจ้าค่ะ เพราะลูกจะชักชวนทุกคนให้สั่งสมบุญร่วมกันโดยตลอด แม้ปัจจุบันจะต้องทำหน้าที่ลูกสะใภ้ ดูแลคุณพ่อของสามีที่กำลังป่วยแต่ลูกก็ไม่ลืมที่จะจัดสรรเวลาไปทำบุญที่วัดเสมอค่ะ
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 49 ความหมายของอสงไขยและมหากัป
ความหมายของคำว่า อสงไขย และ มหากัป คือ อะไร, การบังเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ยากเพียงไหน...ที่นี่มีคำตอบ
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๕ ชนะสัจจกนิครนถ์)
การฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตของเราทุกคน เพราะชีวิตของผู้มีใจหยุดดีแล้ว เป็นชีวิตที่ประเสริฐ มีพลัง มีความบริสุทธิ์ มีอานุภาพที่จะทำความดี เอาชนะความชั่ว
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย