ลาวหนึ่งในประชาคมอาเซียน
เราคืออาเซียน ลาว “สันติภาพ เอกราช ประชาธิปไตย เอกภาพ วัฒนาถาวร” คือคำขวัญประจำชาติของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประเทศเพื่อนบ้านที่ใกล้ชิดกับไทยทั้งในเชิงประวัติศาสตร์ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม ประกอบด้วยชนหลายเผ่า ซึ่งมีความแตกต่างกันในเรื่องภาษาและวัฒนธรรม แต่ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบ
ปกบ้านครองเมือง ของประเทศไทย
ประเทศไทย หรือราชอาณาจักรไทย เป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์และความเป็นมาอันยาวนาน เริ่มตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์หรือยุคแรกเริ่ม ที่มีชุมชนมนุษย์ถือกำเนิดขึ้นในแผ่นดินลุ่มแม่น้ำแห่งนี้ รวมตัวก่อตั้งเป็นอาณาจักร สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี ก่อกำเนิดวัฒนธรรมประเพณีต่างๆสืบต่อและพัฒนาผ่านกาลเวลาเรื่อยมาจนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1 ) ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นโดยย้ายเมืองหลวงเดิมที่อยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยามาอยู่ทางฝั่งตะวันออกแทน และพระราชทานนามว่า “กรุงเทพมหานคร”
ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียนับเป็นดินแดนสำคัญแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนาเพราะเคยเป็นศูนย์กลางที่สำคัญเมื่อราว 1,000 กว่าปี
พิธีอัญเชิญแบบจำลองเจดีย์น้อยดอยสวรรค์
บันทึกประวัติศาสตร์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาบนยอดดอย พิธีอัญเชิญแบบจำลอง “เจดีย์น้อยดอยสวรรค์”
วัดเทวสังฆาราม (วัดเหนือ)
วัดเทวสังฆาราม ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ เป็นวัดเก่าแก่โบราณวัดหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรีมีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ตำบลบ้านเหนือ ชาวบ้านทั่วไปเรียกกันติดปากว่า "วัดเหนือ"
รับสมัครริ้วขบวนโล่เกียรติยศในวันมาฆบูชา
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในประวัติศาสตร์ ริ้วขบวนโล่เกียรติยศในวันมาฆบูชา 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
เปิดรับสมัครอาสาสมัครริ้วขบวน กฐินธรรมชัยสร้างทุกสิ่ง
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งใน ประวัติศาสตร์ริ้วขบวนกฐินธรรมชัยสร้างทุกสิ่ง 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2555
ประมวลภาพงานสัมมนาคัมภีร์โบราณ 8 มีนาคม พ.ศ.2555
การบรรยายพิเศษอันทรงคุณค่าที่เป็นหลักฐาน แห่งการค้นพบมรดกชาวพุทธโบราณ ซึ่งเป็นประวัติศาสตร์หน้าใหม่แห่งวงการพระพุทธศาสนาโลก โดยสองนักวิชาการผู้ยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษ
เชิญชมนิทรรศการ change the world ที่สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
บอกเล่าเรื่องราวส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์การสร้างวัดพระธรรมกายและมโนปณิธานของวัดฯ ที่ได้ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติมานานกว่า 40 ปี
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ คือ จารึกศิลาฉบับที่สิบสามของพระเจ้าอโศกมหาราช