กระต่ายน้อยในดวงจันทร์
“การสร้างบารมี” เป็นงานที่แท้จริงของมวลมนุษยชาติ เราเกิดมาเพื่อสร้างบารมี ดำเนินตามรอยบาทพระบรมศาสดา มุ่งแสวงหาสาระอันแท้จริงของชีวิต
มงคลที่ ๑๗ สงเคราะห์ญาติ - อย่าทอดทิ้งกัน
คนใกล้ชิดของท่านเศรษฐีมักปรารภให้ฟังว่า อย่าเลี้ยงนายกาฬกรรณีไว้เลย เพราะชื่อของเขาไม่เป็นมงคล และยังเป็นคนยากไร้ ไม่มีศักดิ์ศรีเสมอท่านเศรษฐี จะเลี้ยงคนๆ นี้ไว้ทำไม ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีก็ไม่ได้สนใจ กลับตอบว่า บัณฑิต ย่อมไม่ถือมงคลจากชื่อเสียงเรียงนาม เพียงแค่ชื่อที่ไม่เป็นมงคล ถึงกับจะให้ทอดทิ้งเพื่อนที่คบกันมาตั้งแต่เด็กนั้น เราทำไม่ได้ เป็นสิ่งที่ไม่สมควรอย่างยิ่ง
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 4 โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก
กระต่ายน้อยในดวงจันทร์(ทานปรมัตถบารมี)
เมื่อให้ทานอันเลิศ บุญอันเลิศย่อมเจริญ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุข และกำลังอันเลิศก็เจริญ
อานิสงส์ถวายงา
เราได้เห็นพระพุทธเจ้าผู้ปราศจากธุลีกิเลส ผ่องใสไม่มัวหมอง ก็เลื่อมใส ทั้งที่ไม่ได้ตั้งใจถวาย ก็ได้ถวายทานอย่างกะทันหัน ผลแห่งบุญจึงสำเร็จอย่างน่าอัศจรรย์
อานิสงส์ของการไม่นอกใจสามี
สมัยที่ดิฉันได้เกิดเป็นมนุษย์นั้น ดิฉันเป็นผู้มีความซื่อตรง มีวาจาสัตย์ ไม่คิดนอกใจสามี ได้ถนอมนํ้าใจสามีเหมือนมารดาถนอมบุตรผู้เป็นที่รัก แม้บางครั้งดิฉันจะรู้สึกไม่พอใจ ดิฉันก็จะไม่ลุแก่อำนาจอารมณ์ จะไม่กล่าวคำหยาบคาย ตั้งอยู่ในสัจจะอย่างเคร่งครัด... เพราะบุญนั้น ส่งผลให้ดิฉันมีวรรณะที่งดงามอย่างนี้ มหาสมบัติอันเป็นทิพย์ที่น่าใคร่ น่าปรารถนาจึงบังเกิดขึ้น
เปรตงูยักษ์และเปรตกาดำ
จริงอยู่ บาปกรรมที่บุคคลทำแล้วย่อมไม่สูญหายไป เหมือนน้ำนม ที่รีดในขณะนั้นคงไม่แปรไป แต่บาปกรรมนั้นจะต้องติดตามเผาคนพาล เหมือนไฟที่ถูกเถ้าปกปิดเอาไว้
บริจาคดวงตาเป็นทาน (อุปบารมี)
ในการเดินทางไกล เราจำเป็นจะต้องมีเสบียงติดตัวไป เพื่อหล่อเลี้ยงสังขารให้ดำรงอยู่ได้ ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางในโลกนี้ ในโลกหน้า
วัดพระธรรมกายมินเนโซตา จัดกิจกรรมงานบุญวันอาทิตย์
วัดพระธรรมกายมินเนโซตา ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดกิจกรรมงานบุญวันอาทิตย์ และพิธีทอดผ้าป่าบูชาธรรมพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) พระผู้ปราบมาร ในโครงการธรรมยาตราปีที่ 9 (ออนไลน์)
อานิสงส์ถวายอารามสงฆ์
ผลบุญที่เกิดจากการถวายอารามสงฆ์นี้ มีอานิสงส์ใหญ่มากมาย ดังตัวอย่างของพระอุบาลี ผู้เป็นเลิศในด้านพระธรรมกถึก