ผลชาดก ชาดกว่าด้วยความสามารถในการดูผลไม้
ณ นครสาวัตถี นอกฤดูพรรษาหนึ่งก่อนที่เหล่าภิกษุสงฆ์จะออกจาริกไปเผยแผ่พระพุทธธรรมตามนิคมแว่นแคว้นต่าง ๆ ชาวพระนครก็มักกราบอาราธนาพระพุทธองค์เสด็จรับภัตตาหารที่บ้านเรือนตนอยู่มิได้ขาด ครั้งหนึ่งทรงรับนิมนต์คหบดีเจ้าของสวนผลไม้ จึงเสด็จนำหมู่ภิกษุสงฆ์ไปตามการอาราธนานั้น ชาวสวนผลไม้จัดพระพุทธอาสนะให้พระพุทธองค์ประทับภายในเคหสถานของตนพร้อมกับพระเถระผู้ใหญ่
สสปัณฑิตชาดก ชาดกว่าด้วยผู้สละชีวิตเป็นทาน
“ มิจำเป็นที่ผู้อื่นจะต้องล่วงรู้หรอกท่านพญากระต่าย คุณความดีในการเสียสละชีวิตเพื่อให้ทานของท่านในครั้งนี้จะคงอยู่ปรากฎตลอดไป ” ทันทีที่กล่าวจบท้าวสักกะในร่างของพราหมณ์ ก็ทำการเขียนรูปของพญากระต่ายไว้บนดวงจันทร์ เพื่อให้เป็นสัญลักษณ์ในการเสียสละครั้งนี้ให้อยู่สืบไป
ฉวชาดก ชาดกว่าด้วยการนั่งที่ไม่สมควร
ครั้งหนึ่งพวกภิกษุฉัพพัคคีย์นั้นได้รับกิจนิมนต์จากชาวบ้าน ครั้นเมื่อไปถึงเรือนของผู้นิมนต์แล้วก็นั่งอยู่ในที่ต่ำแสดงธรรมแก่ฆราวาสซึ่งนั่งอยู่ในที่สูงกว่า ด้วยเห็นว่าพวกตนได้รับการดูแลอย่างดีจากเจ้าของบ้าน ภิกษุรูปหนึ่งเห็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนั้น จึงนำความไปกราบทูลพระพุทธองค์ทรงทราบ
พกชาดก-ชาดกว่าด้วยบาปกรรมของผู้ฉลาดแกมโกง
พระเชตะวันมหาวิหาร ณ เวลาในพุทธกาลสมัยหนึ่งยังมีพระภิกษุผู้มีศิลปะในการตัดเย็บ ย้อมสี ปะ ชุนจีวร ฝีมือดีจนเป็นที่ยอมรับในหมู่สงฆ์ ภิกษุรูปนี้ชาญฉลาดในการทำจีวรให้งาม ภิกษุสงฆ์ทั้งหลายพากันขนานนามตามความหมายนั้นว่า พระจีวรวัฒฑกะ
มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความลุ่มหลง
มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความลุ่มหลง คือตัวนำไปสู่ความตาย "อนิจจาปลาใหญ่คร่ำครวญถึงแต่นางปลาสาว มิได้รู้สึกกลัวความตายที่อยู่ตรงหน้าสักนิด"
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - พฤติกรรมที่ชักนําให้เสื่อม
เรื่องนี้มีข้อคิดหลายอย่าง ทั้งเรื่องกฎ แห่งกรรม ความสำคัญของใจในช่วงสุดท้ายตอนศึกชิงภพ และเรื่องความฉลาดในการสอบสวน จนสามารถรู้ถึงเหตุที่แท้จริงจากผลที่เกิดขึ้น เรื่องการเป็นคนช่างสังเกต รู้ว่าใครเป็นพาล เป็นบัณฑิต เป็นมิตรหรือศัตรู
พิธีมอบสื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนาโคราช
ชมรมสื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ในอุปถัมภ์พระราชภาวนาวิสุทธิ์ มอบสื่อการเรียนรู้วิชา
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๓)
ในระหว่างทางอาจมีปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เกิดขึ้นบ้าง แต่สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงเครื่องพิสูจน์กำลังใจของเราเท่านั้น บางปัญหาเราแก้ไขได้