พระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้รัตตัญญู (๑)
ภิกษุผู้สันโดษ ย่อมเป็นผู้อยู่เป็นสุขในทิศทั้ง ๔ และเป็นผู้ไม่หงุดหงิด สันโดษด้วยปัจจัยตามมีตามได้ ครอบงำอันตรายทั้งหลาย ไม่หวาดเสียว เทียวไปคนเดียวดังนอแรด
ผู้มีราตรีเดียวเจริญ
พึงทำความเพียรเสียในวันนี้แหละ ใครเล่าจะรู้ว่า ความตายจะมีในวันพรุ่ง เพราะว่าความผัดเพี้ยนกับมัจจุราชผู้มีเสนาใหญ่ ย่อมไม่มีแก่เราทั้งหลาย พระมุนีผู้สงบย่อมเรียกบุคคลผู้มีปกติอยู่อย่างนี้ มีความเพียร ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน นั้นว่าผู้มีราตรีเดียวเจริญ
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม
การเกิดเป็นคนนั้นยากจริงหรือ
หลวงพ่อเคยเทศน์ว่าการได้เกิดเป็นคนนั้นยากแสนยาก ถ้าเป็นเช่นนั้นจริง เหตุใดจึงมีการรณรงค์เพื่อให้มีการคุมกำเนิดกันเกือบทุกมุมโลก
ลักษณะมหาบุรุษ (๒)
สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - เลิศเฉพาะทาง เลิศทุกทาง
พระเถระได้วิสัชนาว่า “ขอถวายพระพร ข้อที่ตรัสว่า พระมหาโมคคัลลานะ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้มีฤทธิ์นั้นก็ถูก ข้อที่ว่าท่านถูกโจรทุบตีจนต้องนิพพานก็ถูก แต่การถูกทุบตีนั้น เป็นเพราะกรรมเข้ายึดไว้ คือ เป็นวิบากกรรมของท่าน ที่เคยถูกอกุศลเข้าสิงจิตให้กระทำปิตุฆาตและมาตุฆาตุ คือ ฆ่าพ่อฆ่าแม่มาก่อน ไม่มีใครหลีกเลี่ยงกฎแห่งการกระทำได้ สักวันย่อมต้องได้รับผลของกรรมนั้น”
สละชีวิตเป็นทาน (ปรมัตถบารมี)
มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาความสุข ความอบอุ่นใจ และความปลอดภัยในชีวิต ทุกคนพยายามเสาะแสวงหาที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริง แต่หลายชีวิตไม่อาจรู้ว่า
ควรพิจารณากิจของตน
บุคคล ไม่ควรใส่ใจคำก้าวร้าวของคนอื่น ไม่ควรมองการงานของคนอื่น ว่าเขาทำแล้วหรือยังไม่ได้ทำ ควรพิจารณาดูแต่การงานของตน ที่ทำเสร็จแล้วหรือยังไม่ได้ทำเท่านั้น
สุมนสามเณร
บุคคลใดมีสัจจะ มีธรรมะ มีความไม่เบียดเบียน มีความสำรวม มีความข่มใจ บุคคลนั้นชื่อว่า เป็นนักปราชญ์ผู้บริสุทธิ์ ชื่อว่าเป็นเถระ ผู้มั่นคงในธรรม
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - อยู่กับปัจจุบันธรรม
เมื่อใจหยุดนิ่งเข้าไปถึงธรรมกายแล้ว เราจะเปรียบเทียบได้ เห็นชัดด้วยตนเองว่า กายธรรมนี้เป็นขันธวิมุตติที่หลุดพ้นจากขันธ์ห้า เป็นกายที่พ้นจากไตรลักษณ์ ออกนอกภพสาม เป็นธรรมขันธ์ คือ ทั้งก้อนกายมีแต่ความบริสุทธิ์ล้วนๆ เป็นธาตุล้วนๆ ธรรมล้วนๆ ควรยึดไว้เป็นที่พึ่งที่ระลึก