มงคลที่ ๒๔ มีความสันโดษ - รู้จักพอ ก่อให้เกิดสุข
การเปลี่ยนแปลง คือ การแสวงหา นั่นคือ สัญญาณบอกให้เรารู้ว่า เรายังไม่พบของที่ดีจริง จึงเบื่อหน่ายเร็ว หายเห่อเร็ว เมื่อเบื่อก็เปลี่ยนแปลง แสวงหากันต่อๆ ไปอย่างนั้น การแสวงหาที่ไม่มีที่สิ้นสุดนี้แหละ ที่เรียกว่าไม่สันโดษ
คำพระตถาคต
สมัยนั้นแล เด็กอ่อนได้แต่นอน นั่งอยู่บนตักของอภัยราชกุมาร ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะอภัยราชกุมารว่า ดูก่อนราชกุมาร ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
อานิสงส์ของการรักษาศีล 5
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอานิสงส์ของการรักษาศีลแก่ชาวปาฏลิคามใน มหาปรินิพพานสูตร ว่ามี 5 ประการ คือ.......
อานิสงส์ถวายดอกบัวและธงชัย
ผู้ใดโยนดอกปทุมนี้มาบูชาพระสัพพัญญูผู้เป็นนายกของโลก เราจักพยากรณ์ผู้นั้น ท่านทั้งหลายจงฟังเรากล่าว ผู้นั้นจักเป็นจอมเทวดาเสวยเทวรัชสมบัติตลอด ๓๐ กัป จักได้เป็นพระราชาในแผ่นดิน ครอบครองพสุธาอยู่ ๗๐๐ กัป จักถือเอาอัตภาพในภพนั้นแล้ว จักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิในกาลนั้น สายฝนดอกปทุม จักตกจากอากาศมากมาย
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๓ )
"ระหว่างพระพุทธเจ้ากับท่านอุรุเวลกัสสปะ ใครหนอจะมีอานุภาพมากกว่ากัน" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงล่วงรู้ความคิดของชาวเมือง จึงตรัสถามท่านว่า "ดูก่อนกัสสปะ ท่านเคยเป็นอาจารย์สั่งสอน หมู่ชฎิลผู้ผ่ายผอมเพราะกำลังประพฤติพรต ท่านเห็นอะไรจึงได้ ละไฟที่เคยบูชาเสียเล่า ท่านเห็นประโยชน์อะไรจึงมาประพฤติพรหมจรรย์กับเรา"
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - พระในบ้าน
ข้าพเจ้าจักเพลิดเพลิน และปรารถนาความเจริญแก่บุตรเหล่าใด บุตรเหล่านั้นถูกภรรยา ยุยง รุกรานข้าพเจ้าเหมือนสุนัขรุกรานสุกร ฉะนั้น บุตรเหล่านั้น เป็นอสัตบุรุษ แต่มาเรียกข้าพเจ้าว่า พ่อ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - สังฆทานเป็นทานอันเลิศ
การถวายภัตตาหารหรือไทยธรรมเป็นสังฆทานนี้ พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญว่าเป็นบุญใหญ่ ได้อานิสงส์มากกว่าการถวายจำเพาะเจาะจงภิกษุรูปหนึ่งรูปใด ที่เรียกว่า ปาฏิปุคคลิกทาน เพราะฉะนั้นตั้งแต่โบราณเมื่อจะทำบุญ พระท่านจึงสอนว่าให้ถวายเป็นสังฆทาน เพราะพระสงฆ์เป็นประมุขของผู้หวังบุญ
อานิสงส์ถวายวัดเวฬุวัน
นอกจากพระพุทธเจ้าผู้เป็นนาถะของโลก ปากคน ๑ นหุต บุรุษไรเล่าผู้สามารถจะกล่าวอานิสงส์ของการถวายที่อยู่อาศัยได้
บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พร้อมคำแปล
บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (พร้อมคำแปล)
กาฬกัณณิชาดก ชาดกว่าด้วยมิตร
“พวกเธอจงเชื่อเถิด ขึ้นชื่อว่ามิตร ย่อมเกื้อกูลต่อกันเสมอ แม้มิตรนั้นจะตกต่ำในฐานะ แต่เมื่อจิตใจร่ำรวยดังนี้ มิตรอย่างเราก็ต้องอนุเคราะห์ให้ทรัพย์เป็นทุนกับเขายิ่งๆ ขึ้นไป”