มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - พระปัญญาบริสุทธิ์
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบัณฑิต ผู้รู้ ผู้มีปัญญา ต้องดำรงตนเป็นทูตสันติภาพได้ด้วย นอกจากจะมีปฏิภาณที่ยอดเยี่ยมแล้ว ต้องไม่มีอคติความลำเอียง และต้องรู้จักแสวงจุดร่วมสมานจุดต่าง คอยประสานรอยร้าวเหมือนเป็นกาวใจ
สอบบาลีสนามหลวง
สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง จัดสอบบาลีสนามหลวงชั้นเปรียญธรรมประโยค 7 ณ วัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์
พุทธศาสนสุภาษิต
พุทธศาสนสุภาษิต สุภาษิต รวมพุทธสุภาษิตที่สำคัญตามหมวดหมู่ พร้อมไฟล์ดาวน์โหลด พุทธศาสนสุภาษิตพร้อมคําแปล ความหมายของพุทธศาสนสุภาษิต พุทธศาสนสุภาษิต คําอ่าน คําแปล
พระโสณโกฬิวิสเถระ
ควรทำวันคืนไม่ให้เปล่าจากประโยชน์ ไม่ว่าจะน้อยหรือมากก็ตาม เพราะวันคืนผ่านบุคคลใดไป ชีวิตของบุคคลนั้น ย่อมพร่องจากประโยชน์นั้น
การสอนให้มองโลกในแง่ร้าย อะไรก็ไม่เที่ยง ไม่ยินดียินร้ายใดๆ
สอนให้สุนทรีไม่มีสมบัติเกินจำเป็น มองโลกในแง่ร้าย อะไรก็ไม่เที่ยง ฝืนธรรมชาติไม่มีเมีย ไม่มีความรู้สึก ไม่ยินดียินร้ายใดๆ ข้อความทั้งหมดนี้จริงหรือไม่ ถ้าจริงคนเราก็ควรมาอยู่วัดให้หมด
บนบานศาลกล่าว
การบนกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น พระพุทธ-รูป และการบนกับสิ่งที่ไม่ใช่พระรัตนตรัย จะให้ผลต่างกันอย่างไร แล้วอุปนิสัยในการบนจะส่งผลอย่างไรในชาติต่อๆ ไปคะ
เส้นทางไปของผู้มีรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง
ชนเหล่าใดในศาสนานี้ละกามราคะอนุสัย คือภวราคะ และโมหะได้ขาด ชนเหล่านั้น ย่อมไม่ต้องนอนในครรภ์ คือเกิดอีก เพราะถึงนิพพานดับทุกข์เย็นสนิทดีแล้ว