อานิสงส์ถวายตั่ง
เรายินดี มีจิตโสมนัส ได้ถวายตั่งอันสวยงามแด่พระพุทธเจ้าพระนามว่าติสสะ ผู้เป็นนาถะของโลก เป็นเผ่าพันธุ์พระอาทิตย์ ในกัปที่ ๓๘ เราได้เป็นพระราชาพระนามว่า มหารุจิ โภคสมบัติอันไพบูลย์และที่นอนมิใช่น้อยได้มีแล้วแก่เรา เรามีใจผ่องใสได้ถวายตั่งแด่พระพุทธเจ้า ย่อมเสวยกรรมของตน ที่ตนได้ทำไว้ดีแล้วในกาลก่อน
อานิสงส์ของการทำจิตผ่องใส
เมื่อจิตไม่เศร้าหมอง สุคติเป็นที่ไป เมื่อจิตเศร้าหมอง ทุคติเป็นที่ไป
อานิสงส์ถวายวิหาร
ลูกไม่ประสงค์จะครองเรือน ลูกยินดีอย่างยิ่งในพระนิพพาน ภพถึงแม้ว่าจะเป็นทิพย์ ก็ไม่ยั่งยืน จะป่วยกล่าวไปใยถึงกามทั้งหลาย ซึ่งเป็นของว่างเปล่า
เทวธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยธรรมของเทวดา
“ดูก่อนภิกษุในศาสนาของเรานี้ ล้วนสรรเสริญคุณของความเป็นผู้มักน้อย สันโดษ รักสงบ เพียรผลาญกิเลสให้สิ้นไปมิใช่หรือ? แล้วทำไมท่านกลับถึงทำสิ่งไม่ควรเช่นนี้เล่า” พระภิกษุเจ้าสำรวย ได้ฟังคำพระพุทธเจ้าแล้ว แทนที่จะสำนึกผิดกลับบันดาลโทสะ ประชดประชัน ทำสิ่งมิควรอีก
การที่พระเวสสันดรให้บุตรธิดาเป็นทานแก่ชูชกแล้วลูกๆ ของท่านก็ได้รับความลำบากนั้น การให้ทานแบบนี้เป็นเรื่องที่ถูกต้องหรือไม่
การที่พระเวสสันดรให้พระโอรส พระธิดาเป็นทานไปนั้น เพราะท่านเป็นผู้มีปัญญามาก ต้องตัดใจทิ้งลูกทิ้งเมีย เพื่อรบกับกิเลส ชนะกิเลสครั้งนี้ ลูกเมียจะเดือดร้อนอย่างมากก็แค่ชาตินี้ ชาติต่อไปจะไม่มีคำว่าเดือดร้อนอีกแล้ว ทรงมองเห็นอย่างนี้ จึงทำอย่างนั้น พวกเราเวลาพิจารณาอะไร อย่าเอาภาวะฐานะที่ตัวเองเป็นอยู่ไปตัดสินใครเขา
แข่งบุญแข่งบารมี
มีภาษิตกล่าวว่า “แข่งเรือแข่งพาย พอแข่งได้ แต่แข่งบุญแข่งบารมี แข่งกันไม่ได้” เป็นความหมาย ให้อ่อนน้อมถ่อมตน มิให้ตีตนเสมอผู้หลักผู้ใหญ่
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๒)
การได้อัตภาพเป็นมนุษย์ เป็นสิ่งที่ได้มาโดยยากยิ่ง เพราะเป็นโอกาสเดียวที่สามารถสั่งสมบุญกุศลได้เต็มที่
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๓)
ชีวิตหลังความตายยังเป็นความมืดมนสำหรับมนุษย์ทั้งหลาย เพราะยังไม่ได้รู้แจ้งในโลกทั้งปวง มนุษย์มากมายต่างก็ปรารถนาจะไปสวรรค์ เพราะรู้ว่าสวรรค์เป็นดินแดนแห่งการเสวยสุข
สว่างไสวไปทั่วหมื่นโลกธาตุ
พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บัณฑิตกล่าวว่าเป็นเลิศกว่าสรรพสัตว์ทั้งหลาย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ชนเหล่าใดเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า ชนเหล่านั้นชื่อว่าเลื่อมใส ในบุคคลผู้เลิศ ก็ผลอันเลิศย่อมมีแก่บุคคลผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (2)
ชีวิตนี้น้อยนัก หมู่สัตว์ย่อมตาย แม้ภายใน ๑๐๐ ปี ถ้าแม้สัตว์เป็นอยู่เกิน ๑๐๐ ปีไปไซร้ สัตว์นั้นก็ต้องตายเพราะชราโดยแท้