ผม...เคยคิดจะมาเผาวัดพระธรรมกาย
" ผม...เคยคิดจะมาเผาวัด เคยพูดกับนายพลระดับบิ๊กๆ ว่าทำไมพี่ปล่อยวัดพระธรรมกายให้โตมาถึงขนาดนี้ "
ผู้มีจิตตั้งมั่นไม่หวั่นไหว
ความศรัทธา เป็นทางมาแห่งความดีทั้งหลาย ผู้มีความศรัทธาเลื่อมใสในสิ่งที่ควรบูชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเลื่อมใสในพระรัตนตรัย จะได้ชื่อว่าเป็นผู้มีทรัพย์อันประเสริฐ ถ้าหากว่ามีศรัทธาตั้งมั่นไม่หวั่นไหว บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า เป็นผู้ไม่ขัดสน ปรารถนาสิ่งใดจะสำเร็จประโยชน์ทุกเรื่อง จะเป็นผู้ที่เจริญอยู่ในกุศลธรรม และสามารถข้ามพ้นห้วงน้ำคือกิเลสอาสวะทั้งหลาย ไปสู่ฝั่งพระนิพพานได้
เพียรเถิดจะเกิดผล
บุคคลทั้งหลายผู้มีความเพียร ขุดพื้นดินในทะเลทราย ได้พบน้ำในทะเลทรายนั้น ณ ที่ลานกลางแจ้ง ฉันใด มุนีผู้ประกอบด้วยความเพียรและกำลัง เป็นผู้ไม่เกียจคร้าน พึงได้ความสงบใจ ฉันนั้น นรชนใด มีจิตไม่ท้อแท้ มีใจไม่หดหู่ บำเพ็ญกุศลธรรม เพื่อความเกษมจากโยคะ นรชนนั้น พึงบรรลุความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งหมดได้
อานิสงส์ของผู้มีศีลและอาจาระ
เราได้เข้ารักษาอุโบสถอันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ นำมาซึ่งความสุขอันกำหนดไม่ได้เลยเนืองนิตย์ และได้สร้างกุศลธรรมไว้อย่างบริบูรณ์ ครั้นจุติจากโลกมนุษย์แล้ว ได้บังเกิดเป็นเทพธิดาผู้มีรัศมีในกายของตัวเอง เที่ยวรื่นรมย์อยู่รอบๆ สวนนันทวัน
นิโครธมิคชาดก ชาดกว่าด้วยการเลือกคบ
นิโครธมิคชาดก บางครั้งการเคร่งครัดต่อกฏระเบียบข้อบังคับมากเกินไปจนลืมนึกถึงเหตุและผลที่สมควร ก็กลับกลายเป็นเรื่องที่ขาดคุณธรรมไปได้ ติดตามเรื่องราวการปกครองเหล่าบริวารของพญากวางสาขะและพญากวางนิโครธะ ชึ่งให้ข้อคิดและสามารถนำมาปรับใช้กับหลายๆ เหตุการณ์ในปัจจุปันได้
อานิสงส์รักษาอุโบสถศีลครึ่งวัน
กามแม้น้อย ก็ไม่พอแก่มหาชน มหาชนย่อมไม่อิ่มในกามแม้มาก น่าสลดใจที่พวกคนพาลพากันบ่นว่า รูป เสียงเหล่านี้ จงมีแก่เรา กุลบุตรผู้ประกอบด้วยความเพียร พึงเว้นให้ขาดเถิด
ขัลลฏิยชาดกว่าด้วยความหลงผิดลุ่มหลงในอบายมุข
ขัลลฏิยชาดก เป็นเรื่องความหลงผิดของสตรีนางหนึ่ง ซึ่งนางหลงประกอบมิจฉาชีพและทำจนคุ้นชิน ความสำนึกในบาปบุญคุณโทษก็หมดสิ้นไป เมื่อได้มาในสิ่งที่ต้องการ ก็ยิ่งหลงทำผิด ทำบาปเพิ่มมากยิ่งขึ้น จนเป็นเหตให้นางไปเกิดเป็นนางเวมานิกเปรต
อานิสงส์ถวายผ้าหนึ่งคู่
เราได้ถวายผ้าคู่หนึ่งแก่พระพุทธเจ้า ถวายบังคมพระยุคลบาท แล้วนั่งอยู่บนพื้นดิน เรารู้สึกปลื้มปีติในบุญนั้น แม้เรามีอายุน้อย พอละจากโลกไป ก็ไปเกิดในชั้นไตรทศ เป็นผู้เรืองยศ
ตินทุกชาดก-ชาดกว่าด้วยเรื่องอุบายหนีตาย
ในสมัยพุทธกาลองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงประทับอยู่ ณ พระเชตะวันมหาวิหารเผยแผ่ธรรมะคำสอนให้แก่เหล่าพุทธสาวกได้ซึมซับในพระธรรมคำสอน ด้วยพระปัญญาบารมีของพระองค์ได้ทำให้เหล่าภิกษุในพระเชตวันต่างรู้สึกเลื่อมใสและเคารพนับถือเป็นยิ่งนัก
อานิสงส์ถวายทานด้วยตัวเอง
สำหรับผู้ปรารถนาอยู่ร่วมกับทวยเทพทั้งหลาย ควรที่จะบำเพ็ญกุศลไว้ให้มาก เพราะว่าผู้ที่ทำบุญไว้ดีแล้ว ย่อมเพียบพร้อมด้วยโภคสมบัติบันเทิงอยู่ในสุคติสวรรค์
กัฏฐหาริชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษแห่งการแบ่งชนชั้น
ณ ถิ่นกำเนิดพระพุทธศาสนานั้นยังมีการถือชนชั้นกีดกันวรรณะกันอย่างรุนแรงแม้แต่ในหมู่พระประยูรญาติขององค์พระพุทธศาสดาเอง อุษาสางวาระหนึ่งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสอดส่องพระญาณก็ทรงพบว่า ความทุกข์เวทจากวรรณะได้เกิดกับพระญาติแห่งศากยวงศ์
พัพพุชาดก ตอนที่ 1 ชาดกว่าด้วยวิธีให้แมวตาย
พัพพุชาดก..ในพุทธกาลสมัย องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารในนครสาวัตถี เผยแพร่คำสอนของพระพุทธศาสนากว้างไกลไปทั่วแคว้นพาราณสี ในกาลนั้น ได้มีอุบาสิกาผู้หนึ่งมีนามว่า กาณมาตา นางเป็นอริยสาวิกา ผู้บรรลุโสดาบัน นางอาศัยอยู่กับลูกสาวคนหนึ่ง มีชื่อว่า กาณา
พระมหาสีลวะชาดก-ชาดกว่าด้วยการปรารภความเพียร
กาลครั้งนั้นเมื่อสมเด็จพระบรมศาสดาเสด็จมาประทับยังพระเชตวันมหาวิหารกรุงสาวัตถี พระองค์ได้หยั่งรู้ถึงความทุกข์กายทุกข์ใจของภิกษุผู้บำเพ็ญเพียรรูปหนึ่งที่ไม่อาจแสวงหาโลกธรรมได้ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงโปรดให้ทุกข์นั้นบรรเทาลง
อกตัญญุตาชาดก-ชาดกว่าด้วยคนอกตัญญู
พุทธกาลสมัยหนึ่งครั้งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระสงฆ์สาวกทั้งหลายกลับจากกรุงราชคฤห์ แผ่นดินมคธมาสู่พระเชตวันมหาวิหาร ณ นครสาวัตถี ในโกศลรัฐนั้น สิ่งร้าวรานที่เกิดจาก เทวทัตเถระ กระทำย่ำยีต่อพระพุทธศาสนาในการแบ่งแยกหมู่สงฆ์และสะพิงบัญญัติใหม่แปลกไปจากพุทธวินัยในแคว้นมคธก็กลายเป็นข้อวิภาคเจ็บร้อนขึ้นในธรรมสภา
วันคุ้มครองโลก EarthDay ประวัติและความเป็นมาของวันคุ้มครองโลก
วันคุ้มครองโลก (Earth Day) วันคุ้มครองโลก 22 เมษายน ความเป็นมาของวันคุ้มครองโลก บทความที่เกี่ยวข้องกับวันคุ้มครองโลก
วันมหาปวารณา วันที่พระภิกษุสงฆ์ทุกรูปเปิดโอกาสให้ว่ากล่าวตักเตือนกันได้
วันมหาปวารณา คือ การทำปวารณาครั้งใหญ่ หมายถึง วันที่พระภิกษุสงฆ์ทุกรูปทั้งพระผู้ใหญ่และพระผู้น้อยต่างเปิดโอกาสอนุญาตแก่กันและกัน ให้ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ด้วยจิตที่เมตตา ซึ่งเป็นวันเดียวกันกับวันออกพรรษา
วันออกพรรษา 2568 ประวัติวันออกพรรษา วันออกพรรษามีความสำคัญอย่างไร
วันออกพรรษา 2568 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ปีนี้ตรงกับวันอังคารที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2568 ความเป็นมาของวันออกพรรษาเป็นอย่างไร เกิดอะไรขึ้นในวันออกพรรษาเมื่อสมัยครั้งพุทธกาล ข้อมูลวันออกพรรษาที่น่าสนใจหลายอย่าง รวมถึงบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษา
รอยพระบาทริมฝั่งนัมมทานที
บุญอันล้ำเลิศย่อมเจริญแก่ชนทั้งหลาย ผู้เลื่อมใสแล้วในบุคคลผู้เลิศ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ ความสุข และกำลังอันเลิศก็เจริญ ผู้มีปัญญาให้ของอันเลิศ ตั้งมั่นแล้วในธรรมอันเลิศ เป็นภูตหรือเทวดาก็ตาม เป็นมนุษย์ก็ตาม ย่อมเข้าถึงความเป็นเลิศ บันเทิงใจอยู่ นี้เป็นขุมทรัพย์ที่อำนวยสมบัติทุกอย่าง ทั้งแก่เทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ทำลายข่าย คือ ทิฏฐิมานะ (2)
เมื่อพระอานนทเถระได้รับอนุมัติจากสงฆ์แล้ว จึงออกเดินทางพร้อมพระภิกษุอีก 500รูป มุ่งหน้าไปยังวัดโฆสิตาราม เมืองโกสัมพี ซึ่งเป็นที่พำนักของพระฉันนะ ครั้นพระฉันนะรู้ว่า พระอานนทเถระมาเยี่ยม จึงรีบเข้าไปหา ไหว้พระเถระด้วยความนอบน้อม เพราะรู้ว่าฐานะตำแหน่งทางโลกนั้น พระอานนท์เป็นพระอนุชา เป็นเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ส่วนตนเป็นเพียงข้าทาสคนรับใช้ จึงมีความยำเกรงพระอานนท์เป็นพิเศษ
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - พิชิตความโศกด้วยสัจจธรรม
มหาชนที่ผ่านไปผ่านมา พบเห็นดาบสินีนอนสิ้นใจ ต่างก็พากันสงสารในชะตากรรม พากันร้องไห้คร่ำครวญอยู่ที่ศาลาหลังนั้น ส่วนพระโพธิสัตว์กลับจากภิกขาจาร มาเห็นมหาชนคร่ำครวญกันอยู่ เมื่อรู้ว่าดาบสินีคู่ทุกข์คู่ยากสิ้นใจแล้ว ก็ไม่ได้แสดงอาการอะไร ยังคงทำภัตกิจตามปกติ เพราะเป็นผู้ที่มีใจมั่นคง มองเห็นความตายเป็นเรื่องธรรมดาของสัตวโลก มหาชนเห็นอย่างนั้น จึงพากันถามด้วยความสงสัยว่า "ท่านดาบสเป็นอะไรกับนาง"