มงคลที่ ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา(สามี) - คู่บุญคู่บารมี
สามีภรรยาจะต้องรู้จักความเป็น "ผู้ให้" ซึ่งกัน และกัน ตั้งแต่การให้ข้าวของเครื่องใช้ ให้คำพูดที่ไพเราะจริงใจ ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูล รู้จักให้อภัย รวมถึงให้ความมั่นใจต่อกัน เพราะ "การให้" เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ จะทำให้เป็นคู่บุญ คู่บารมี เป็นครอบครัวแก้วที่มีแต่ความเจริญรุ่งเรืองยิ่งๆ ขึ้นไป
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพาพ้นภัย (๑)
ตัวอย่างของการใช้ปัญญารักษาตัวรอด มีสติปัญญาสามารถนำพาตนให้รอดพ้นภัยพิบัติได้ ดังนั้นปัญญาจึงเป็นรัตนะของนรชนทั้งหลาย โดยเฉพาะปัญญาที่จะช่วยนำพาเรา ให้หลุดพ้นจากทุกข์ในอบายภูมิ ให้ได้เวียนวนสร้างบารมีอยู่เฉพาะในสุคติภูมิอย่างเดียว
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ตายแทนกันได้
นายพรานก็มีใจอ่อนโยน เกิดหิริโอตตัปปะ ได้คิดว่า "รางวัล และยศจากพระราชาจะมีประโยชน์อะไร ถ้าเราทำร้ายสัตว์ผู้มีคุณธรรมเช่นนี้ แผ่นดินจะต้องสูบเรา หรือสายฟ้าจะต้องฟาดลงบนกระหม่อมของเราเป็นแน่"
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 22
ทรงยื่นคำขาดว่า “น้องหญิงสีวลีผู้เจริญ หญ้ามุงกระต่าย ซึ่งเราถอนขึ้นแล้วนี้ ไม่อาจสืบต่อกันได้อีก ฉันใด การอยู่ร่วมกันระหว่างเธอกับฉัน ก็ไม่อาจสืบต่อได้อีก ฉันนั้น เพราะฉะนั้น เธอจงอยู่ผู้เดียว ฉันก็จะอยู่ผู้เดียวเหมือนกัน”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 21
กุมาริกาได้กล่าวเตือนพระสติพระมหาสัตว์ต่อไปว่า “ธรรมดาสมณะทั้งหลาย ย่อมไม่พาสตรีเที่ยวไป แต่ทำไมท่านจึงพาภรรยาซึ่งมีรูปงามดุจเทพอัปสรเที่ยวไปด้วยเล่า ภรรยาจะทำให้สมณธรรมของท่านมัวหมอง ท่านจงยินดีในการอยู่คนเดียวเถิด”
มงคลที่ ๑ ไม่คบคนพาล - เลือกคบคนให้เป็น
พระเทวทัต มีความปรารถนาลามกจะตีเสมอพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คิดอยากจะเป็นใหญ่ปกครองคณะสงฆ์ จึงแสดงอิทธิฤทธิ์และเกลี้ยกล่อมเจ้าชายอชาตศัตรูให้เลื่อมใสตนเอง จากนั้นเริ่มยุยงให้ปลงพระชนม์ พระบิดา ส่วนพระเทวทัตจะปลงพระชนม์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วเป็นศาสดาแทน
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 20
“ใครหนอเป็นผู้แนะนำธรรมะสั่งสอนพระองค์ ถ้อยคำอันสะอาดนี้ เป็นถ้อยคำของใคร ดูก่อนพระองค์ผู้เป็นจอมทัพ เพราะข้าพระองค์มิเคยเห็นพระองค์ได้ตรัสกับสมณะผู้มีวัตรปฏิบัติก้าวล่วง ทุกข์ ซึ่งแนะนำหนทางสู่ความหลุดพ้นแก่พระองค์เลย”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 19
นารทดาบสต้องการให้พระโพธิสัตว์สมาทานมั่น จึงถวายข้อคิดว่า “พระองค์ เพียงแต่ทรงเพศบรรพชิตนี้ จะสำคัญว่า เราข้ามพ้นกิเลสแล้วหาได้ไม่ กรรมคือกิเลสนี้ ไม่ใช่ว่าจะพึงข้ามได้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ เพราะยังมีอันตรายอยู่มาก”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 16
ทรงคาดการณ์ว่า นี้จะต้องเป็นเส้นพระเกศาของพระราชสวามี พระองค์ทรงปลงพระเกศาแล้วก็ทรงเปลี่ยนชุดเป็นบรรพชิต สละเครื่องราชาภรณ์วางไว้แล้วก็เสด็จลงจากพระราชวังไป ก็ทรงทราบได้ว่า “บรรพชิตรูปนั้น คงไม่ใช่พระปัจเจกพุทธเจ้าเสียแล้ว จะต้องเป็นพระราชสวามีสุดที่รักของเราอย่างแน่นอน”
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๒ ( ไขปริศนา )
" ท่านเป็นสัตว์ไม่กินหญ้าจึงไม่เป็นที่สงสัยของควาญช้าง ฉะนั้น ท่านต้องเข้าไปในโรงช้าง ฉวยโอกาสคาบหญ้ามาให้ฉันเถิด ส่วนตัวฉันเองเป็นสัตว์ไม่กินเนื้อ จึงไม่เป็นที่สงสัยของพ่อครัว เพราะฉะนั้น ฉันจะเข้าไปในโรงครัวนำเนื้อมาให้ท่าน "