ปฏิปทาแห่งพรหมโลก
ตถาคตถูกถามถึงพรหมโลก หรือปฏิปทาเครื่องให้ถึงพรหมโลก ก็ไม่ชักช้าหรือประหม่าเช่นเดียวกัน ดูก่อนมาณพ เราย่อมรู้จักทั้งพรหมโลกและปฏิปทาเครื่องให้ถึงพรหมโลก อนึ่ง ผู้ปฏิบัติด้วยประการใดจึงเข้าถึงพรหมโลก เราย่อมรู้ชัดซึ่งประการนั้นด้วย
ปฏิปทาของผู้ไปเกิดเป็นเปรต
ดูก่อนสารีบุตร เราย่อมรู้จักซึ่งเปตวิสัย ทางไปสู่เปตวิสัย และปฏิปทาอันจะยังสัตว์ให้ถึงเปตวิสัย อนึ่ง สัตว์ผู้ดำเนินประการใด เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าถึงเปตวิสัย เราย่อมรู้ชัดซึ่งประการนั้นด้วย
ผู้ที่จะเข้าถึงพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาเป็นเรื่องของคนฉลาด คนอ่อน น้อมถ่อมตน มีจิตใจที่มั่นคง มีสติระวังตัว ระวังคพพูดอยู่เสมอ ผู้เป็นอย่างนี้เท่านั้น
เมื่ออยุติธรรมเกิดขึ้นจึงรู้ค่าของธรรมะ
คนเราจะเห็นว่าธรรมสำคัญที่สุดก็ต่อเมื่อตนได้รับความอยุติธรรม ถูกข่มเหงรังแก ถูกเบียดเบียนหรือได้รับทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่ง
สักกปัญหสูตร ตอนที่ ๓ (ปัญหาจอมเทพ)
โลกมนุษย์ เป็นโลกแห่งการสร้างบารมี เป็นสถานที่ที่ทุกคนสามารถใช้สร้างบารมีได้อย่างเต็มที่ แต่ก็มีไม่มากนักที่จะรู้เป้าหมายของการเกิดมาเป็นมนุษย์ มีเพียงเหล่าบัณฑิตนักปราชญ์เท่านั้น ที่ดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่ประมาท ซึ่งการเกิดมาในภพชาตินี้ของมนุษย์ทุกๆ คน เกิดมาเพื่อสร้างบารมี และต้องใช้ชีวิตในแต่ละวัน
ทำอย่างไรจึงจะมีผิวพรรณที่สวยงาม น่าดู น่าชม ?
ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
ทัพพปุบผาชาดก ชาดกว่าด้วยโทษของการโต้เถียงกัน
“ เป็นไงล่ะ ได้แต่ทะเลาะกันอยู่ได้ เห็นไหมส่วนลำตัวเลยกลายเป็นของเจ้าสุนัขจิ้งจอกไปเลย อดหม่ำกันทั้งสองตัวเลยเรา ” “ อดเลยเรา เราทั้งสองไม่น่าทะเลาะกันเลยเนอะ ที่จริงเรามาทานที่ลำตัวด้วยกันก็ได้นี่น่า ” “ นั่นนะสิ ไม่น่าเลย ” “ เพราะเรามาทะเลาะกัน ปลาชิ้นนั้นก็เลยตกเป็นของเข้าสุนัขจิ้งจอกไปเลย เจ็บใจจริง ๆ ไม่น่ามาทะเลาะกันเลย ”
เขมาเถรี อัครสาวิกาเบื้องขวา
เราเรียกผู้ไม่เยื่อใยในกามทั้งหลายเหล่านั้นว่า เป็นผู้สงบ เพราะไม่มีกิเลสเป็นเครื่องร้อยรัด จึงข้ามพ้นตัณหาไปได้
มหาปูชนียาจารย์ (2)
ภิกษุใด ยังหนุ่มยังแน่น พากเพียรอยู่ในพระพุทธศาสนา ภิกษุนั้น ย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง ดุจพระจันทร์ที่พ้นแล้วจากเมฆหมอก สว่างอยู่ ฉะนั้น
๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต