พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๓)
วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว ทุกชีวิตย่างสู่วัยเสื่อมและวัยชรา หากเรามองย้อนไปพิจารณาการกระทำของเรามาแล้วพบว่า
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๒)
ทุกชีวิตล้วนมีการแสวงหา บ้างแสวงหาปัจจัยสี่เพื่อใช้ในการดำรงชีวิต บ้างแสวงหาทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ซึ่งเป็นโลกียทรัพย์ภายนอก แต่จะมีใคร
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
อาชีพนักเขียนที่ต้องตอบโต้กับคนพาลอย่างดุเดือดจะมีวิบากไหม
ในฐานะนักเขียน บางครั้งลูกต้องต่อสู้กับสิ่งที่ไม่ถูกต้อง ลูกต้องตอบโต้กับคนพาลอย่างดุเดือด การกระทำเช่นนี้ถือเป็นบุญหรือบาปอย่างไร
ศาสดาเอกของโลก (๒)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นต้นแบบของยอดนักสร้างบารมี ที่สร้างบารมีในทุกเวลาทุกสถานที่ ไม่ว่าจะกี่ภพกี่ชาติพระพุทธองค์มุ่งสร้างบารมีโดยไม่มีข้อแม้
พระทศพลญาณ
มนุษย์ส่วนใหญ่ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ เพียงเพื่อให้รู้วิธีการประกอบอาชีพ ที่จะนำมาซึ่งปัจจัยสี่สำหรับหล่อเลี้ยงร่างกาย ให้ดำรงอยู่ในโลกนี้อย่าง
จักษุของพระพุทธเจ้า
มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาความสุข ความอบอุ่นใจ และความปลอดภัยในชีวิต จึงพยายามเสาะแสวงหาที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริง แต่หลายชีวิตก็ยังไม่รู้ว่า ที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริงนั้นคือสิ่งใด อยู่ที่ตรงไหน จะเข้าถึงได้ด้วยวิธีการใด จึงแสวงหากันวุ่นวาย และเต็มไปด้วยความทุกข์ทรมาน แต่ถ้าทุกคนในโลกได้รู้จักที่พึ่งที่ระลึก
พระอรหันต์ของโลก
โลกนี้ โลกหน้า เรารู้อยู่ จึงประกาศไว้ดีแล้ว เราเป็นผู้ตรัสรู้เอง รู้ชัดโลกทั้งปวง ซึ่งแออัดด้วยมาร ทั้งที่เป็นโลกอันมัจจุไปไม่ถึง เรารู้ได้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ได้เปิดประตูอมตะอันปลอดโปร่ง เพื่อบรรลุพระนิพพาน กระแสมารผู้ลามก เราตัดแล้ว กำจัดแล้ว ทำให้ปราศจากความฮึกเหิมแล้ว พวกเธอจงเป็นผู้มากไปด้วยปราโมทย์ ปรารถนาพระนิพพาน ซึ่งเป็นแดนเกษมเถิด
มหัศจรรย์วันออกพรรษา
พระจันทร์ พระอาทิตย์ ซึ่งปราศจากมลทิน ย่อมแจ่มกระจ่างในท้องฟ้า ซึ่งปราศจากเมฆฝน ฉันใด ข้าแต่พระองค์ ผู้มีพระรัศมีซ่านออกแต่พระสรีรกาย ผู้เป็นมหามุนี พระองค์ย่อมรุ่งเรืองล่วงสรรพสัตวโลก ด้วยพระยศ ฉันนั้น ดังนี้
พระพุทธคุณ ตอน พระคุ้มครอง
มนุษย์เป็นอันมาก เมื่อถูกภัยคุกคามย่อมยึดเอาภูเขาป่าไม้ว่าเป็นที่พึ่ง แต่ที่พึ่งนั้นไม่เกษม ไม่อุดม เพราะบุคคลอาศัยแล้วย่อมไม่พ้นจากทุกข์ไปได้ ส่วนผู้ใดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง ที่พึ่งนั้นแลเป็นที่พึ่งอันเกษม เป็นที่พึ่งอันอุดม เมื่อบุคคลอาศัยที่พึ่งนั้นแล้ว ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้