ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 94
อาจารย์เสนกะไม่รอช้า รีบชิงกราบทูลก่อนใครๆว่า “ขอ เดชะมหาราชเจ้า ก่อนอื่นข้าพระบาททั้งหลายใคร่จะทูลถามความเห็นของพระองค์ก่อน พระพุทธเจ้าข้า หากได้ทราบความดำริของพระองค์แล้ว พวกข้าพระบาทก็จักได้กราบทูลให้เป็นที่พอพระราชหฤทัยสืบไป พระพุทธเจ้าข้า”
มงคลที่ ๑๗ สงเคราะห์ญาติ - อย่าทอดทิ้งกัน
คนใกล้ชิดของท่านเศรษฐีมักปรารภให้ฟังว่า อย่าเลี้ยงนายกาฬกรรณีไว้เลย เพราะชื่อของเขาไม่เป็นมงคล และยังเป็นคนยากไร้ ไม่มีศักดิ์ศรีเสมอท่านเศรษฐี จะเลี้ยงคนๆ นี้ไว้ทำไม ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีก็ไม่ได้สนใจ กลับตอบว่า บัณฑิต ย่อมไม่ถือมงคลจากชื่อเสียงเรียงนาม เพียงแค่ชื่อที่ไม่เป็นมงคล ถึงกับจะให้ทอดทิ้งเพื่อนที่คบกันมาตั้งแต่เด็กนั้น เราทำไม่ได้ เป็นสิ่งที่ไม่สมควรอย่างยิ่ง
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : บอกกล่าวเล่าทุกข์
ผู้ใดพอใครถามถึงเรื่องทุกข์ของตน ก็บอกเขาเรื่อยไป ทั้งที่ไม่ใช่กาลอันควร ผู้นั้นจะมีแต่มิตรชนิดเจ้าสำราญ ส่วนผู้หวังดีต่อเขาก็มีแต่ทุกข์
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 93
มโหสถอธิบายหลักของการคบมิตรอย่างชัดแจ้ง หวังจะให้เป็นประโยชน์แก่อาจารย์ทั้ง ๔ โดยปราศจากความระแวงว่าตนกำลังถูกอาจารย์เสนกะต้อนให้ตกหลุมพราง
อบายมุขที่เลวร้ายที่สุด
คำถาม : ในบรรดาอบายมุขทุกอย่าง อะไรที่ถือว่าเลวร้ายที่สุดครับ
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มิตรแท้แม้ชีวิตก็ให้ได้
สุมุขหงส์ตอบด้วยเสียงไพเราะว่า "พญาหงส์ตัวนี้ เป็นราชาของเรา ทั้งยังเป็นมิตรที่เสมอด้วยชีวิต ฉะนั้นจะให้เราทิ้งไปได้อย่างไร" สุมุขหงส์ตอบด้วยเสียงไพเราะว่า "พญาหงส์ตัวนี้ เป็นราชาของเรา ทั้งยังเป็นมิตรที่เสมอด้วยชีวิต ฉะนั้นจะให้เราทิ้งไปได้อย่างไร"
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๕ )
สามเณรเดินต่อไป เห็นช่างศร กำลังเอาลูกศรลนไฟ เล็งดูด้วยหางตา แล้วดัดให้ตรง จึงเรียนถามพระเถระด้วยความอยากรู้ ตามประสาเด็กอายุ ๗ ขวบ ที่มีบารมีแก่กล้า เมื่อได้คำตอบแล้ว ก็ตรึกธรรมะไปว่า ถ้าสามารถดัดลูกศรที่ไม่มีจิต ให้ตรงได้ ทำไมหนอ คนซึ่งมีจิตแท้ๆ จึงไม่สามารถบังคับจิตของตนเองได้"
อานิสงส์ถวายศาลาจาตุรมุข
ญาติ มิตร และสหายผู้มีใจดีทั้งหลาย เห็นบุรุษผู้ไปอยู่ต่างถิ่นมานาน เดินทางกลับมาแต่ที่ไกลๆ ด้วยความสวัสดี ย่อมยินดียิ่งว่า มาแล้ว ฉันใด บุญทั้งหลายก็ย่อมต้อนรับบุคคลผู้กระทำบุญไว้ ซึ่งจากโลกนี้ไปสู่โลกหน้า ดุจหมู่ญาติเห็นญาติที่รักมาแล้ว ต้อนรับอยู่ฉันนั้น
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มีไมตรีจิตต่อกัน
ข้าแต่พญาหงส์ ในยามผลดกนกทั้งหลายก็ชุม แต่พอผลวายนกทั้งหลายก็ไปไม่เหลียวแล ตอนมีผลประโยชน์ใครๆ ก็เห็นคุณค่า แต่ตอนที่หมดประโยชน์ ใครบ้างเล่าจะนึกถึงผู้มีอุปการคุณ เราจะไม่ไปไหนทั้งนั้น ต้นไม้นี้เป็นทั้งเพื่อน เป็นทั้งญาติของเรา เราต้องการเป็นอยู่เพียงเท่านี้ ขอเพียงได้ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับต้นไม้ที่มีพระคุณกับเราเท่านั้น
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 92
มโหสถบัณฑิตจึงสรุปเพื่อยืนยันมติของตนอีกครั้งว่า “ถูกแล้วท่านอาจารย์ ความเป็นคนจริง พูดจริง ทำจริง เป็นคุณสมบัติที่ถือเป็นหลักของคนได้แน่” แล้วอาจารย์เสนกะก็รุกถามถึงประเด็นสำคัญต่อไปว่า “ผู้ดำรงมั่นอยู่ในความสัตย์จริงแล้ว ควรจะปฏิบัติอย่างไรต่อไป”