ศีล 5 กลอนธรรม พระเทพสุวรรณโมลี
อ่านกลอนศีล 5 กลอนธรรมโดยพระเทพสุวรรณโมลี (สอิ้ง สิรินนฺโท) เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ให้ไว้เมื่อ 8 มกราคม พ.ศ.2557 ได้ที่นี่...
100 คำสอน สมเด็จพระสังฆราช
100 คำสอนของสมเด็จพระสังฆราช เป็นคำสอนที่ใช้ภาษาเรียบง่าย และงดงาม ชวนให้น้อมนำเข้ามาสู่จิตใจ 100 คำสอนที่รวบรวมมาแต่ละคำสอนเป็นข้อความสั้น ๆ ว่าด้วย ชีวิต, คน, คนดี, กรรม, ความสุข, ความดี, เมตตา และชัยชนะ
พระมหากัสสปเถระ (๑)
ชนผู้ปรารถนาอายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สวรรค์ ความเกิดในตระกูลสูง และความเพลินใจ พึงทำความไม่ประมาทให้มากยิ่งขึ้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมสรรเสริญความไม่ประมาทในการทำบุญ บัณฑิตผู้ไม่ประมาทแล้ว ย่อมยึดถือประโยชน์ทั้งสองไว้ได้ คือประโยชน์ในปัจจุบัน และประโยชน์ในสัมปรายภพ
จงฉลาดในการใช้ทรัพย์
สัตบุรุษผู้ครอบครองทรัพย์ ย่อมเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนเป็นอันมาก เทวดาย่อมรักษาเขาผู้อันธรรมคุ้มครองแล้ว เป็นพหูสูต สมบูรณ์ด้วยศีล และความประพฤติ เกียรติย่อมไม่ละผู้ตั้งอยู่ในธรรม ใครจะสามารถติเตียนผู้ตั้งอยู่ในธรรม สมบูรณ์ด้วยศีล มีวาจาสัจ มีหิริในใจ เปรียบเหมือนแท่งทองชมพูนุท แม้เทวดาก็ชื่นชม แม้พรหมก็สรรเสริญ
หนวดเต่า เขากระต่าย
การบรรพชากระทำได้ยากแท้ การอยู่ครองเรือนเป็นเรื่องยาก ธรรมะเป็นของลึก การหาทรัพย์เป็นของยาก การเลี้ยงชีพของเราด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ เป็นการยาก ผู้มีปัญญาควรคิดถึงอนิจจตาอยู่เนืองๆ
พระมหากัสสปะเถระ กับอานิสงส์สร้างพระสถูปเจดีย์
ประวัติการสร้างและบูชาพระเจดีย์ของนักสร้างบารมีในกาลก่อนว่าท่านเหล่านั้นทำกันอย่างไร และผลบุญที่ท่านทั้งหลายเหล่านั้นได้รับเป็นอย่างไร
สิ่งที่ทำได้ยากเมื่อให้ไปแล้ว
คนควรให้ทาน จะน้อยหรือมากก็ตาม แต่ผู้ใด ครั้นให้ทานแล้ว ไม่เดือดร้อนใจในภายหลัง การไม่เดือดร้อนใจนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยากกว่าการกลืนดาบ กว่าการพูดว่าจะให้สิ่งของที่เป็นที่รักนั้น เหตุอย่างอื่นนั้นทั้งหมด เป็นสิ่งที่ทำได้ง่าย
ขอจงเป็นอยู่เถิด
พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อมีผู้ถวายบังคม จะทรงพระอิริยาบถที่สง่างาม ทรงเปล่งพระสุรเสียง ดุจท้าวมหาพรหมที่ไพเราะเสนาะโสต เป็นที่จับใจ เปี่ยมด้วยโสรจชะโลมด้วยน้ำอมฤต ตรัสระบุชื่อของผู้นั้นแล้วกล่าวว่า จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด ข้อนี้เป็นธรรมเนียมของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
คนมีเมตตาชื่อว่ารักตนเอง
เมื่อตรวจตราด้วยจิตทุกทิศแล้ว หาได้พบผู้เป็นที่รักยิ่งกว่าตนไม่ แม้สัตว์เหล่าอื่นก็รักตนมากเหมือนกัน เพราะฉะนั้นผู้รักตนจึงไม่ควรเบียดเบียนผู้อื่น
คนมักโกรธย่อมไม่เป็นที่รัก
บุคคลฆ่าความโกรธได้ย่อมอยู่เป็นสุข เมื่อฆ่าความโกรธได้แล้วย่อมไม่เศร้าโศก พระอริยเจ้าทั้งหลายย่อมสรรเสริญ การฆ่าความโกรธ อันมีรากเป็นพิษมียอดหวาน เพราะบุคคลฆ่าความโกรธนั้นเสียแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก