การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
จาตุมหาราชิกา
ดูก่อนสารีบุตร บุคคลบางคนในโลกนี้ ยังมีความหวังให้ทาน มีจิตผูกพันในผลของทาน ให้ทานด้วยคิดว่า เราตายไปจักได้เสวยผลทานนี้ เขาให้ทาน คือ ข้าว น้ำ ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พัก ประทีปและเครื่องบริโภค แก่สมณะหรือพราหมณ์ ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น เมื่อเขาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของเทวดาชั้นจาตุมหาราชิกา
"ยาฮู"สร้างเน็ต"อวกาศ" 3ปีพัฒนามาตรฐานเสร็จ
รุกขธรรม
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ประพฤติสุจริตด้วยกาย วาจา ใจ เขาได้สดับมาว่า พวกเทวดาที่สิงสถิต อยู่บนต้นไม้มีกลิ่นหอม มีอายุยืน มีวรรณะงาม มีความสุขมาก เขาจึงปรารภต่อว่า โอหนอ เมื่อตายไป ขอให้เราเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดา ซึ่งสิงสถิตอยู่ที่ต้นไม้มีกลิ่นหอม แล้วเขาจึงให้ข้าว น้ำ ผ้า ยาน ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พัก ประทีป และอุปกรณ์แห่งประทีป เมื่อตายไป เขาย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาซึ่งสิงสถิตอยู่ที่ต้นไม้มีกลิ่นหอม
หวั่น"10 กันยายน"โลกถึงจุดจบ "เซิร์น"เดินเครื่องสร้างหลุมดำ
ทำไมจึงรวย ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกับสุภมาณพ โตเทยยบุตรว่า ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้.
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
วัดภาวนานาโกย่า จัดปฏิบัติธรรม ณ ร้านอาหารไทยอยุธยา
วัดภาวนานาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดปฏิบัติธรรมบ้านกัลยาณมิตร ณ ร้านอาหารไทย อยุธยา ย่าน คาตามะจิ ประเทศญี่ปุ่น
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี