ปรโลก ฝ่ายสุคติ
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 4
คุณลักษณะพระนิพพาน มีกล่าวไว้จำนวนมากในพระไตรปิฎก แต่ในที่นี้จะนำมากล่าวเฉพาะคุณลักษณะที่น่าปรารถนา อันมีอยู่ในพระนิพพาน ซึ่งพอจะเทียบเคียงกับความรู้สึกของคนโดยทั่วไปให้เข้าใจได้
นิพพานคือเป้าหมายของชีวิต
ฐานะที่บุคคลเห็นได้ยาก ชื่อว่านิพพาน ไม่มีตัณหา นิพพานนั้นเป็นธรรมจริงแท้ ไม่เห็นได้โดยง่ายเลย ตัณหาอันบุคคลแทงตลอดแล้ว กิเลสเครื่องกังวลย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้รู้ ผู้เห็นอยู่
ความงดงามของพรหมภูมิ ตอนจบ
อย่างไรก็ดี การมีชีวิตที่ยืนยาวอยู่บนพรหมโลก กลับเป็นการตัดโอกาสตนเองในการลงมาสั่งสมบุญบารมีในเมืองมนุษย์ พรหมในหลายๆ ชั้นหมดโอกาสได้พบพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
อุทกดาบส อาฬารดาบส
เหล่าสัตว์ที่มีอำนาจแห่งบุญส่งเสริม ไปแล้วสู่กามภพ และรูปภพ หรือแม้ไปสู่ภวัคคพรหม ย่อมกลับสู่ทุคติอีกได้ เหล่าสัตว์มีอายุยืนถึงเพียงนั้น ก็ยังจุติเพราะสิ้นอายุ ภพไหนๆ ชื่อว่า เที่ยงไม่มี สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ได้ตรัสไว้อย่างนี้
ความงดงามของพรหมภูมิ ตอนที่ 1
จากหลักฐานที่นำมาแสดงนี้จะเห็นได้ว่า พรหมทั้งหลายนั้นมีอยู่จริง อีกทั้งพรหมโลกก็มีอยู่จริง และที่แท้แล้ว พรหมทั้งหลายนั้นความจริงก็คืออดีตมนุษย์นั่นเอง
กรรมลิขิต คนเกิดมารับกรรมจริงไหม ?
กฏแห่งกรรม กรรมลิขิต กฏแห่งการกระทำ ทั้งอดีตชาติ ปัจจุบันชาติ และอนาคตชาติ คนเกิดมารับกรรมจริงไหม? มีบางท่านเข้าใจผิด และสั่งสอนกันมาจนพูดติดปากอยู่คำหนึ่งคือคำว่า “คนเราเกิดมารับกรรม”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 1
อาชีพนั้น เราก็สามารถเลือกได้ และเมื่อทำไปแล้ว เกิดไม่ชอบใจขึ้นมา ก็สามารถเปลี่ยนอาชีพใหม่ได้ไม่ยากนัก แต่วิชาชีวิตนั้น คนส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยรู้กันเลยว่า ต้นแบบชีวิตที่ดีที่สุดนั้นเป็นเช่นไร ควรจะเลือกดำเนินชีวิตอย่างไร และทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีคุณค่าสูงสุด
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ไขปริศนาธรรม
พระพุทธองค์ผู้รู้แจ้งโลก ตรัสตอบว่า “บุคคลเชื่อธรรมของพระอรหันต์ผู้บรรลุนิพพาน ฟังอยู่ด้วยดีย่อมได้ปัญญา บุคคลเป็นผู้ไม่ประมาท เป็นผู้ฉลาด เป็นผู้ทำอะไรเหมาะสม ไม่ทอดธุระ ขยันหมั่นเพียร ย่อมหาทรัพย์ได้ คนย่อมได้ชื่อเสียงเพราะความสัตย์ ผู้ให้ย่อมผูกมิตรไว้ได้ บุคคลใดประกอบด้วยศรัทธา มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ บุคคลนั้น ละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก”